Publication: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลเพื่อป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดที่เกี่ยวกับการคาสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางของพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤตผู้ใหญ่
Issued Date
2563
Resource Type
Language
tha
ISSN
0858-9739 (Print)
2672-9784 (Online)
2672-9784 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 26, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2563), 274-289
Suggested Citation
จิตรลดา กมลผัน, กุุสุุมา คุุววัฒนสัมฤทธิ์์, อภิญญา ศิริพิทยาคุุณกิจ, Chitlada Kamonpha, Kusuma Khuwatsamrit, Apinya Siripitayakunkit ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลเพื่อป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดที่เกี่ยวกับการคาสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางของพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤตผู้ใหญ่. รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 26, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2563), 274-289. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62039
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลเพื่อป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดที่เกี่ยวกับการคาสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางของพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤตผู้ใหญ่
Alternative Title(s)
Factors Related to Caring Behavior for Prevention of Central Line-Associated Bloodstream Infections in Adult Intensive Care Units
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และความตั้งใจในการปฏิบัติการพยาบาล กับพฤติกรรมการดูแลเพื่อป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดที่เกี่ยวกับการคาสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางของพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤตโดยประยุกต์กรอบแนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต
และกึ่งวิกฤตผู้ใหญ่โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 184 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม
เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ความตั้งใจในการปฏิบัติการ
พยาบาล และพฤติกรรมการดูแลเพื่อป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดของพยาบาลในการดูแูลผู้ป่วยที่ได้รับ
การคาสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของ
เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่่างมีความรู้ ทัศนคติ การรับรู้ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และความตั้งใจ
ในการปฏิบัติการพยาบาลอยู่ในเกณฑ์ดี เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรพบว่า ความรู้ ทัศนคติและ
การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความตั้งใจในการปฏิบัติการพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติและความตั้งใจในการปฏิบัติการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลเพื่อป้องกัน
การติดเชื้อในกระแสเลือดที่เกี่ยวกับการคาสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากผล
การศึกษาครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมพฤติกรรมการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการ
ติดเชื้อในกระแสเลือดที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางโดยการส่งเสริมให้พยาบาลมี
ความรู้ ทัศนคติที่ดี และการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และความตั้งใจในการปฏิบัติการพยาบาลในการป้องกัน
การติดเชื้อดังกล่่าว
This descriptive research aimed to explore relationships among nurses’ knowledge, attitude, subjective norm, intention to care, and caring behavior for prevention of central line associated bloodstream infections (CLABSI) in intensive care units. The Planned Behavior theory was used as the conceptual frame work to guide the study. The sample consisted of 184 nurses in the adult intensive care and intermediate care units at Ramathibodi Hospital, Thailand. Six questionnaires were used to collect the data, including demographic characteristics, attitudes, knowledge, subjective norm, intention, and practice for prevention of central line-associated bloodstream infections of nurses. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s correlation. The results showed that the participants had high scores on attitude, knowledge, subjective norm, and intention to care. In particular, the nurses’ knowledge, attitudes, and subjective norms were significantly and positively correlated with the intention to care for prevention of CLABSI. Furthermore,nurses’ intention to care was significantly and positively related to nurses’ caring behavior for CLABSI prevention. The results of this study can be used as basic information to promote caring behavior of nurses by strengthening nurses’ knowledge, attitude, subjective norm, and intention to care for CLABSI prevention.
This descriptive research aimed to explore relationships among nurses’ knowledge, attitude, subjective norm, intention to care, and caring behavior for prevention of central line associated bloodstream infections (CLABSI) in intensive care units. The Planned Behavior theory was used as the conceptual frame work to guide the study. The sample consisted of 184 nurses in the adult intensive care and intermediate care units at Ramathibodi Hospital, Thailand. Six questionnaires were used to collect the data, including demographic characteristics, attitudes, knowledge, subjective norm, intention, and practice for prevention of central line-associated bloodstream infections of nurses. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s correlation. The results showed that the participants had high scores on attitude, knowledge, subjective norm, and intention to care. In particular, the nurses’ knowledge, attitudes, and subjective norms were significantly and positively correlated with the intention to care for prevention of CLABSI. Furthermore,nurses’ intention to care was significantly and positively related to nurses’ caring behavior for CLABSI prevention. The results of this study can be used as basic information to promote caring behavior of nurses by strengthening nurses’ knowledge, attitude, subjective norm, and intention to care for CLABSI prevention.