Publication:
การตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดของโรงพยาบาลรามาธิบดี

dc.contributor.authorธนากิจ ชวยบุญชุมen_US
dc.contributor.authorรัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุลen_US
dc.contributor.authorนภมนต์ มงคลานันท์กุลen_US
dc.contributor.authorวรพันธุ์ เปรมไกรสรen_US
dc.contributor.authorThanakij Chouyboonchumen_US
dc.contributor.authorRattinan Tiravanitchakulen_US
dc.contributor.authorNoppamont Mongkalanatakulen_US
dc.contributor.authorVorapun Premkraisornen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมายen_US
dc.date.accessioned2022-09-23T06:47:37Z
dc.date.available2022-09-23T06:47:37Z
dc.date.created2565-09-23
dc.date.issued2558
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินงานบริการตรวจคัดกรองการได้ยินของทารกแรกเกิดในโรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นการวิจัยเชิงสำรวจกับประชากรทารกแรกเกิดถึงอายุครบ 3 เดือน ที่เกิดตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2555 ถึง 30 มิถุนายน 2556 ที่คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล โดยทำการศึกษาย้อนหลัง (Retrospective study) และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ผลการวิจัยพบว่า สามารถให้บริการตรวจคัดกรองการได้ยินทารกแรกเกิดมีชีพได้อย่างครอบคลุมร้อยละ 99.1 ทารกแรกเกิดมีชีพที่ตรวจคัดกรองการได้ยินก่อนออกจากโรงพยาบาล "ไม่ผ่าน" (Refer rate) ร้อยละ 5 สามารถติดตามทารกให้มาตรวจการได้ยินซ้ำ (Follow-Up) ครั้งที่ 1 ในช่วงอายุ 1 เดือนแรก ได้ร้อยละ 89.1 สามารถตรวจประเมินและวินิจฉับภาวะสูญเสียการได้ยินของทารกที่ตรวจคัดกรองการได้ยิน "ไม่ผ่าน" ได้ก่อนอายุ 3 เดือนแรก ร้อยละ 80.2 ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อพัฒนาการให้บริการสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งด้านการปฏิบัติและด้านนโยบายในการให้บริการตรวจคัดกรองการได้ยินทารกแรกเกิดให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นen_US
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study the outcome of newborn hearing screening services at Ramathibodi Hospital. The retrospective research was applied. The population of this research consisted of newborns who were born during July 1, 2012 to June 30, 2013 with follow up until 3 months of age. Data were analyzed by using descriptive Statistics. The results of the research were as follows: 99.1% of all live births were screened. 5% of these live birth did not pass (refer rate) the screening, 89.1% of the babies which did not pass the screening to follow up at the first visit in 1 month of age. 80.2% of those babies who did not pass the screening were evaluated for hearing diagnosis before 3 month of age. These results could be used as baseline information in order to develop newborn hearing screening services to develop more effective implementation and policy program for hearing program.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 38, ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ก.ย. 2558), 197-208en_US
dc.identifier.issn0125-3611 (Print)
dc.identifier.issn2651-0561 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79636
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการตรวจคัดกรองการได้ยินทารกแรกเกิดen_US
dc.subjectการตรวจวัดเสียงสะท้อนจากการทำงานของเซลล์ขนชั้นนอกen_US
dc.subjectทารกเกิดมีชีพen_US
dc.subjectNewborn hearing screeningen_US
dc.subjectOtoacousticen_US
dc.subjectEmissions tests Live birthen_US
dc.titleการตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดของโรงพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.title.alternativeNewborn Hearing Screening in Ramathibodi Hospitalen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/issue/view/5316

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-thanakij-2558.pdf
Size:
7.1 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections