Publication: Distinguishing Renal Cell Carcinoma From Other Focal Renal Lesions on Multidetector Computed Tomography
Issued Date
2020
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Diagnostic and Therapeutic Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 43, No. 1 (January-March 2020), 1-12
Suggested Citation
Pornphan Wibulpolprasert, Chompoonuch Thongthong, Bussanee Wibulpolprasert, พรพรรณ วิบุลผลประเสริฐ, ชมพูนุช ธงทอง, บุษณี วิบุลผลประเสริฐ Distinguishing Renal Cell Carcinoma From Other Focal Renal Lesions on Multidetector Computed Tomography. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 43, No. 1 (January-March 2020), 1-12. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72225
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Distinguishing Renal Cell Carcinoma From Other Focal Renal Lesions on Multidetector Computed Tomography
Alternative Title(s)
การแยกมะเร็งของไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต ออกจากพยาธิสภาพอื่นๆ ของไตที่มีลักษณะเป็นก้อนเดี่ยวจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
Abstract
Background: The increased use of imaging modalities has led to a greater incidence in depicting solid renal mass. These lesions comprise a wide spectrum of malignant such as renal cell carcinoma (RCC) and benign histologies.
Objective: To determine the multidetector computed tomography (MDCT) features that discriminate RCC from other focal renal lesions.
Methods: A retrospective review was performed on 148 patients who underwent renal CT scan followed by renal surgery or biopsy during January 2008 to July 2014. Specific predictive MDCT features of RCC were determined by logistic regression analysis. Interobserver agreement (kappa [K] values) was also calculated for each CT feature.
Results: In 148 pathologic proved focal renal lesions, 91 (61.5%) were RCCs and 57 (38.5%) were non-RCCs. RCCs were more likely to be in male patients (OR, 5.39; 95% CI, 2.25 - 12.90), no internal fat component (OR, 46.50; 95% CI, 5.25 - 411.90), locate at peripheral (OR, 7.41; 95% CI, 1.63 - 33.73), and mixed central-peripheral locations (OR, 26.22; 95% CI, 4.23 - 162.58) of the kidney. There was moderate-to-excellent agreement among the readers over all these features (K = 0.43 - 0.91).
Conclusions: Focal renal lesion with no internal fat component in MDCT is the most useful characteristic in differentiating RCCs from others.
บทนำ: ปัจจุบันมีการใช้เครื่องมือในการตรวจวินิจฉัยทางรังสีเพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีการตรวจพบความผิดปกติในร่างกายเพิ่มขึ้น รวมถึงการพบก้อนเนื้อของไตที่อาจมีสาเหตุมาจากเนื้อร้าย ซึ่งชนิดที่พบบ่อยที่สุดคือ มะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต (Renal cell carcinoma, RCC) หรืออาจเป็นความผิดปกติที่ไม่อันตรายร้ายแรง วัตถุประสงค์: เพื่อระบุลักษณะภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Multidetector computed tomography, MDCT) ในการแยกมะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต ออกจากพยาธิสภาพอื่น วิธีการศึกษา: การศึกษาย้อนหลังจากผู้ป่วยจำนวน 148 คน ที่มีความผิดปกติของไตลักษณะเป็นก้อนเดี่ยวในภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ และได้รับการผ่าตัดในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 ถึงเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2557 ข้อมูลต่างๆ ถูกนำมาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มมะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต กับกลุ่มโรคอื่นๆ จากนั้นทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ Logistic regression analysis และประเมินค่าความเชื่อมั่นจากการสังเกต (Interobserver agreement) โดยใช้การวิเคราะห์ Kappa [K] analysis ผลการศึกษา: ก้อนของไตจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ จำนวน 148 ก้อน แบ่งเป็น มะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต จำนวน 91 ก้อน คิดเป็นร้อยละ 61.5 และจากพยาธิสภาพอื่น จำนวน 57 ก้อน คิดเป็นร้อยละ 38.5 ส่วนใหญ่พบมะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไตในเพศชาย (OR, 5.39; 95% CI, 2.25 - 12.90) ไม่พบไขมันเป็นส่วนประกอบภายในก้อน (OR, 46.50; 95% CI, 5.25 - 411.90) และตำแหน่งของก้อนจะอยู่ทางด้านนอก (OR, 7.41; 95% CI, 1.63 - 33.73) และร่วมกันทั้งด้านนอกและด้านใน (OR, 26.22; 95% CI, 4.23 - 162.58) โดยมีความเห็นสอดคล้องตรงกันระหว่างรังสีแพทย์อยู่ในระดับปานกลางถึงระดับมาก (K = 0.43 - 0.91) สรุป: ลักษณะก้อนเดี่ยวในไตจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่ไม่พบไขมันเป็นส่วนประกอบ เป็นลักษณะทางรังสีที่สำคัญที่สุดในการแยกมะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต ออกจากพยาธิสภาพอื่น
บทนำ: ปัจจุบันมีการใช้เครื่องมือในการตรวจวินิจฉัยทางรังสีเพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีการตรวจพบความผิดปกติในร่างกายเพิ่มขึ้น รวมถึงการพบก้อนเนื้อของไตที่อาจมีสาเหตุมาจากเนื้อร้าย ซึ่งชนิดที่พบบ่อยที่สุดคือ มะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต (Renal cell carcinoma, RCC) หรืออาจเป็นความผิดปกติที่ไม่อันตรายร้ายแรง วัตถุประสงค์: เพื่อระบุลักษณะภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Multidetector computed tomography, MDCT) ในการแยกมะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต ออกจากพยาธิสภาพอื่น วิธีการศึกษา: การศึกษาย้อนหลังจากผู้ป่วยจำนวน 148 คน ที่มีความผิดปกติของไตลักษณะเป็นก้อนเดี่ยวในภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ และได้รับการผ่าตัดในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 ถึงเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2557 ข้อมูลต่างๆ ถูกนำมาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มมะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต กับกลุ่มโรคอื่นๆ จากนั้นทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ Logistic regression analysis และประเมินค่าความเชื่อมั่นจากการสังเกต (Interobserver agreement) โดยใช้การวิเคราะห์ Kappa [K] analysis ผลการศึกษา: ก้อนของไตจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ จำนวน 148 ก้อน แบ่งเป็น มะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต จำนวน 91 ก้อน คิดเป็นร้อยละ 61.5 และจากพยาธิสภาพอื่น จำนวน 57 ก้อน คิดเป็นร้อยละ 38.5 ส่วนใหญ่พบมะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไตในเพศชาย (OR, 5.39; 95% CI, 2.25 - 12.90) ไม่พบไขมันเป็นส่วนประกอบภายในก้อน (OR, 46.50; 95% CI, 5.25 - 411.90) และตำแหน่งของก้อนจะอยู่ทางด้านนอก (OR, 7.41; 95% CI, 1.63 - 33.73) และร่วมกันทั้งด้านนอกและด้านใน (OR, 26.22; 95% CI, 4.23 - 162.58) โดยมีความเห็นสอดคล้องตรงกันระหว่างรังสีแพทย์อยู่ในระดับปานกลางถึงระดับมาก (K = 0.43 - 0.91) สรุป: ลักษณะก้อนเดี่ยวในไตจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ที่ไม่พบไขมันเป็นส่วนประกอบ เป็นลักษณะทางรังสีที่สำคัญที่สุดในการแยกมะเร็งไตชนิดเซลล์เนื้อเยื่อไต ออกจากพยาธิสภาพอื่น