Publication: The Surgical Outcome of Partial Vertical Rectus Muscle Transpositions (Jensen Procedure) Combined With Ipsilateral Medial Rectus Recession in Complete Sixth Nerve Palsy at Ramathibodi Hospital
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Ophthalmology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 3 (Jul-Sep 2018), 42-49
Suggested Citation
Wadakarn Wuthisiri, Supawan Surukratanaskul, Apatsa Lekskul, วฎาการ วุฒิศิริ, ศุภวรรณ สุรักษ์รัตนสกุล, อาภัทรสา เล็กสกุล The Surgical Outcome of Partial Vertical Rectus Muscle Transpositions (Jensen Procedure) Combined With Ipsilateral Medial Rectus Recession in Complete Sixth Nerve Palsy at Ramathibodi Hospital. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 3 (Jul-Sep 2018), 42-49. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79540
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
The Surgical Outcome of Partial Vertical Rectus Muscle Transpositions (Jensen Procedure) Combined With Ipsilateral Medial Rectus Recession in Complete Sixth Nerve Palsy at Ramathibodi Hospital
Alternative Title(s)
การศึกษาผลการผ่าตัดแก้ไขตาเหล่จากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 เป็นอัมพาต ด้วยวิธีย้ายกล้ามเนื้อตาส่วนบนและส่วนล่าง
Abstract
Background: There are many surgical approaches to treat sixth nerve palsy depend on residual lateral rectus function, which the vertical rectus muscle transpositions (VRT) procedure is the surgical of choice in complete sixth palsy. VRT procedures, including full-tendon and partial tendon transpositions, often are combined with medial rectus muscle weakening. Partial tendon VRT procedure aimed to create success rate similar to full-tendon transposition with reduced risk of anterior segment ischemia when combined with simultaneous ipsilateral medial rectus muscle recession.
Objective: To study the surgical outcomes of partial tendon transposition in sixth nerve palsies patients at Ramathibodi Hospital in the past 12 years.
Methods: Retrospective reviewed data from patients with complete sixth nerve palsy who underwent surgical treatment with the Jensen procedure from January 2006 to December 2017. Preoperative and postoperative data records were collected. Successful outcomes were residual horizontal deviation < 10 prism diopters at 6 months postoperatively. Paired t test was used, where P value < 0.05 was considered statistically significant.
Results: Nineteen patients underwent the modified Jensen procedure combined with ipsilateral medial rectus recession range 6 - 8 mm. Success rate was 73.68%. The mean esodeviation at distance improved from 54.26 ± 31.64 PD to 4.47 ± 12.89 PD (P < 0.01). The improvement of mean abduction deficit was -3.78 ± 0.41 to -2.21 ± 0.53 (P < 0.01).
Conclusions: The Jensen procedure combined with ipsilateral medial rectus recession could improve large angle of deviation in complete sixth nerve palsy with less complications.
บทนำ: ผู้ป่วยที่มีภาวะตาเหล่จากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 เป็นอัมพาต จะมีมุมตาเหล่ขนาดใหญ่และยากต่อการแก้ไข หนึ่งในวิธีการผ่าตัดแก้ไขในกรณีนี้คือการผ่าตัดย้ายกล้ามเนื้อตาส่วนบนและล่างบางส่วนมาช่วย ซึ่งการผ่าตัดกล้ามเนื้อหลายมัดพร้อมกันมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะลูกตาส่วนหน้าขาดเลือด การผ่าตัดย้ายกล้ามเนื้อตาเพียงบางส่วนมีรายงานให้ผลใกล้เคียงกับการผ่าตัดย้ายกล้ามเนื้อตาทั้งหมดและวิธีผ่าตัดนี้ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะลูกตาส่วนหน้าขาดเลือดได้ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลการผ่าตัดแก้ไขตาเหล่จากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 เป็นอัมพาตด้วยวิธีย้ายกล้ามเนื้อตาส่วนบนและล่างในโรงพยาบาลรามาธิบดี ช่วงระยะเวลา 10 ปี วิธีการศึกษา: วิจัยเชิงพรรณนาย้อนหลัง เก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ผ่าตัดในช่วงมกราคม 2549 ถึงธันวาคม 2560 เปรียบเทียบผลก่อนและหลังผ่าตัด ทดสอบสมมติฐานใช้สถิติ Paired t-test โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการศึกษา: มีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ 19 ราย มุมตาเหล่ลดลงจาก 54.26±31.64 PD เหลือ 4.47±12.89 PD, P < 0.0001 และลดความผิดปกติของการกลอกตาจาก-3.78±0.41 เป็น -2.21±0.53, P<0.0001 สรุป: การผ่าตัดด้วยวิธีย้ายกล้ามเนื้อตาบางส่วนเพื่อรักษาภาวะตาเหล่จากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 เป็นอัมพาต ได้ผลสำเร็จเป็นอย่างดี
บทนำ: ผู้ป่วยที่มีภาวะตาเหล่จากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 เป็นอัมพาต จะมีมุมตาเหล่ขนาดใหญ่และยากต่อการแก้ไข หนึ่งในวิธีการผ่าตัดแก้ไขในกรณีนี้คือการผ่าตัดย้ายกล้ามเนื้อตาส่วนบนและล่างบางส่วนมาช่วย ซึ่งการผ่าตัดกล้ามเนื้อหลายมัดพร้อมกันมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะลูกตาส่วนหน้าขาดเลือด การผ่าตัดย้ายกล้ามเนื้อตาเพียงบางส่วนมีรายงานให้ผลใกล้เคียงกับการผ่าตัดย้ายกล้ามเนื้อตาทั้งหมดและวิธีผ่าตัดนี้ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะลูกตาส่วนหน้าขาดเลือดได้ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลการผ่าตัดแก้ไขตาเหล่จากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 เป็นอัมพาตด้วยวิธีย้ายกล้ามเนื้อตาส่วนบนและล่างในโรงพยาบาลรามาธิบดี ช่วงระยะเวลา 10 ปี วิธีการศึกษา: วิจัยเชิงพรรณนาย้อนหลัง เก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ผ่าตัดในช่วงมกราคม 2549 ถึงธันวาคม 2560 เปรียบเทียบผลก่อนและหลังผ่าตัด ทดสอบสมมติฐานใช้สถิติ Paired t-test โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการศึกษา: มีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์ 19 ราย มุมตาเหล่ลดลงจาก 54.26±31.64 PD เหลือ 4.47±12.89 PD, P < 0.0001 และลดความผิดปกติของการกลอกตาจาก-3.78±0.41 เป็น -2.21±0.53, P<0.0001 สรุป: การผ่าตัดด้วยวิธีย้ายกล้ามเนื้อตาบางส่วนเพื่อรักษาภาวะตาเหล่จากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 เป็นอัมพาต ได้ผลสำเร็จเป็นอย่างดี