Publication: การวิเคราะห์และแนวทางการฝึกซ้อมเพื่อการแสดง บทประพันธ์ “โหมโรงพระปรางค์สามยอด” สำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม
Issued Date
2565
Resource Type
Language
tha
ISSN
2586-9973 (Print)
2774-132X (Online)
2774-132X (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
Bibliographic Citation
Mahidol Music Journal. ปีที่ 5, ฉบับที่ 1 (มี.ค. 2565 -ส.ค. 2565), 6-27
Suggested Citation
วิษณ์กมล ชัยวานิชศิริ, อภิวัฒน์ สุริยศ, Viskamol Chaiwanichsiri, Apiwat Suriyos การวิเคราะห์และแนวทางการฝึกซ้อมเพื่อการแสดง บทประพันธ์ “โหมโรงพระปรางค์สามยอด” สำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม. Mahidol Music Journal. ปีที่ 5, ฉบับที่ 1 (มี.ค. 2565 -ส.ค. 2565), 6-27. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79961
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การวิเคราะห์และแนวทางการฝึกซ้อมเพื่อการแสดง บทประพันธ์ “โหมโรงพระปรางค์สามยอด” สำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม
Alternative Title(s)
An Analysis and Reharsal Suggestions for Performance of Phra Prang San Yot Overture for Wind Orchestra
Abstract
บทประพันธ์ “โหมโรงพระปรางค์สามยอด” เป็นผลงานประพันธ์เพลงสำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม ประพันธ์โดย วิษณ์กมล ชัยวานิชศิริ โดยได้รับแรงบันดาลใจจากหนึ่งในสถานที่สำคัญในจังหวัดลพบุรี ได้แก่ พระปรางค์สามยอด ในการสร้างสรรค์ผลงานนี้ผู้ประพันธ์ได้นำองค์ประกอบทางวัฒนธรรมดนตรีของไทยมาใช้ ได้แก่ ทำนอง “ระบำลพบุรี” อันเป็นบทเพลงประจำจังหวัดลพบุรีและทำนอง “ลิงกับเสือ” ที่สื่อความหมายแทนลิง อันเป็นสัตว์เอกลักษณ์ประจำจังหวัดลพบุรี อีกทั้งได้นำเทคนิค “เหลื่อม” ในดนตรีไทย มาใช้ในการสร้างสรรค์บทเพลง นอกจากนี้ผู้ประพันธ์ได้นำเทคนิคการพัฒนาทำนองดนตรี การเขียนแนวทำนองสอดประสาน และเรียบเรียงเสียงประสานในรูปแบบตะวันตกมาใช้ เพื่อสร้างสีสันให้บทประพันธ์มีความงดงามมากยิ่งขึ้น บทความชิ้นนี้มุ่งวิเคราะห์โครงสร้างและทำนอง ตลอดจนการนำเสนอแนวทางการฝึกซ้อมในจุดที่สำคัญ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้นำบทเพลงไปแสดงและผู้ที่สนใจการประพันธ์เพลงที่มีกลิ่นอายความเป็นวัฒนธรรมไทยต่อไป
Phra Prang Sam Yot Overture for wind orchestra, composed by Viskamol Chaiwanichsiri was inspired by Phra Prang Sam Yot (English: Three Towers Shrine) which is one of the provincial landmark of Lopburi province. In this composition, composer have used elements from Thai music, i.e., Rabam Lopburi—Lopburi’s provincial tune, Ling Kab Suea—Thai folk tune that represent the monkey which is the animal associated with Lopburi, and Thai music technique of Lueam—Echo in the piece. Moreover, the composer have used western music compositional technique of motivic development, counterpoint and harmony to create variety to the composition. This article aims to analyze the structure and motive of the composition, along with the suggestions for the rehearsal of the significant areas in the piece that would be beneficial to the performer and composer who are interested in composition with the touch of Thai culture.
Phra Prang Sam Yot Overture for wind orchestra, composed by Viskamol Chaiwanichsiri was inspired by Phra Prang Sam Yot (English: Three Towers Shrine) which is one of the provincial landmark of Lopburi province. In this composition, composer have used elements from Thai music, i.e., Rabam Lopburi—Lopburi’s provincial tune, Ling Kab Suea—Thai folk tune that represent the monkey which is the animal associated with Lopburi, and Thai music technique of Lueam—Echo in the piece. Moreover, the composer have used western music compositional technique of motivic development, counterpoint and harmony to create variety to the composition. This article aims to analyze the structure and motive of the composition, along with the suggestions for the rehearsal of the significant areas in the piece that would be beneficial to the performer and composer who are interested in composition with the touch of Thai culture.