Publication:
การจัดการกากไขมันจากบ่อดักไขมัน โดยกระบวนการทำปุ๋ยหมักร่วมกับดินค่ำและขี้เลื่อย

dc.contributor.authorวิรจิรวัส รวิชญทรัพย์en_US
dc.contributor.authorธวัช เพชรไทยen_US
dc.contributor.authorธนาศรี สีหะบุตรen_US
dc.contributor.authorวรพจน์ กนกกันฑพงษ์en_US
dc.contributor.authorTawach Prechthaien_US
dc.contributor.authorTanasri Sihabuten_US
dc.contributor.correspondenceธวัช เพชรไทยen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมen_US
dc.date.accessioned2016-01-28T02:04:19Z
dc.date.accessioned2017-07-12T07:55:04Z
dc.date.available2016-01-28T02:04:19Z
dc.date.available2017-07-12T07:55:04Z
dc.date.created2559-01-28
dc.date.issued2558
dc.description.abstractกากไขมันเป็นกากของเสียอินทรีย์ที่โดยทั่วไปถูกกำาจัดจากถังดักไขมันที่ใช้ในระบบบำบัดน้ำเสีย ครัวเรือน ดังนั้นจึงควรถูกจัดการและกำจัดอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันปัญหาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกากไขมันการทำเป็นปุ๋ยหมักร่วมกับวัสดุอื่นอาจสามารถนำามาใช้ในการจัดการของเสียประเภทนี้เพื่อที่จะนำกากไขมันกลับมาใช้ประโยชน์เป็นสารปรับสภาพดิน ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเพื่อศึกษาความเหมาะสมของกระบวนการทำาปุ๋ยหมักร่วมระหว่างกากไขมันดินค่ำและขี้เลื่อย วัสดุหมักถูกเตรียมโดยการผสมกากไขมัน 19.5 กิโลกรัม ร่วมกับดินค่ำ 12.0 กิโลกรัม และขี้เลื่อย 8.5 กิโลกรัม กระบวนการหมักดำเนินการในถังหมักที่มีการพลิกกลับกองปุ๋ยหมักเป็นระยะ จากนั้นระยะเวลาที่เหมาะสมและคุณภาพของปุ๋ยหมักถูกประเมินในการทดลองนี้ ผลการทดลองแสดงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในถังหมักที่ 63 องศาเซลเซียสก่อนที่จะลดลงเท่าอุณหภูมิภายนอกที่ภายในระยะเวลา 76 วัน ผลการวิเคราะห์คุณสมบัติของผลผลิตปุ๋ยหมักพบว่าค่าสัดส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนและค่าพีเอชของปุ๋ยหมักเท่ากับ 17.5:1 และ 5.45 ตามลำาดับขณะที่ความเข้มข้นของกากไขมันและปริมาณอินทรีย์วัตถุเท่ากับ ร้อยละ 2.0 และ 35.0 โดยน้ำหนักนอกจากนี้ความเข้มข้นรวมของไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในปุ๋ยหมักเท่ากับ ร้อยละ 1.2, 6.0 และ 28.8 โดยน้ำหนัก ตามลำาดับ สุดท้ายค่าดัชนีการงอกที่ร้อยละ 132.0 ที่พบในเมล็ดผักบุ้งจีน(Ipomceaaquatica Forsk) แสดงศักยภาพของปุ๋ยหมักจากกากไขมันร่วมกับดินค่ำและขี้เลื่อยในการใช้เป็นสารปรับสภาพดินen_US
dc.description.abstractFat, oil and grease (FOG) are residue organic waste usually removed from the grease trap using in household wastewater treatment. To prevent the environmental impact from FOG, therefore, it should be properly managed and disposed. Co-composting process may be applicable for this waste in order to recycle FOG as soil conditioner. This study, therefore, is to determine the feasibility of co-composting process of FOG, night soil and sawdust. The composting material was prepared by mixing of 19.5 kg of FOG, 12.0 kg of night soil and 8.5 kg of sawdust. The composting process was then performed in basins with periodical turning around. The optimal composting time and quality of compost were then evaluated in this experiment. The result shows the increase of temperature level in composting basin to 63°C before decreasing to ambient temperature level within 76 days. The characterization of compost product found that C/N ratio and pH level of compost was 17.5:1 and 5.45, respectively. The concentration of FOG and organic matter in compost was 2.0 and 35.0% by weight. In addition, the total concentration of nitrogen, phosphorus and potassium in the compost was 1.2, 6.0 and 28.8% by weight, respectively. Finally, the observed 132.0% germination index of Chinese water convolvulus (Ipomoea aquatic Forsk) suggests the potential of compost from FOG mixed night soil and sawdust in using as soil conditioner.
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขศาสตร์. ฉบับพิเศษ (2558), 117-126en_US
dc.identifier.issn0125-1678
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2581
dc.language.isothaen_US
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectกระบวนการหมักร่วมen_US
dc.subjectกากไขมันen_US
dc.subjectสิ่งปฏิกูลen_US
dc.subjectขี้เลื่อยen_US
dc.subjectCo-Composting Processen_US
dc.subjectFogen_US
dc.subjectNight Soilen_US
dc.subjectSawdusten_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขศาสตร์en_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectJournal of Public Healthen_US
dc.titleการจัดการกากไขมันจากบ่อดักไขมัน โดยกระบวนการทำปุ๋ยหมักร่วมกับดินค่ำและขี้เลื่อยen_US
dc.title.alternativeManagement of fat oil and grease by cocomposting process with night soil and sawdusten_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.ph.mahidol.ac.th/phjournal/journal/15th/10วิรจิรวัส.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-tawach-2558.pdf
Size:
765.07 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections