Publication: พยาธิหนอนหัวใจสุนัข : ภัยเงียบของคนเมือ
dc.contributor.author | ทวี สายวิชัย | en_US |
dc.contributor.author | สิรินทิพย์ ชัยชโลทรกุล | en_US |
dc.contributor.author | Tawee Saiwichai | en_US |
dc.contributor.author | Sirintip Chaichalotornkul | en_US |
dc.contributor.correspondence | ทวี สายวิชัย | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-21T07:56:02Z | |
dc.date.accessioned | 2017-07-12T07:52:12Z | |
dc.date.available | 2015-09-21T07:56:02Z | |
dc.date.available | 2017-07-12T07:52:12Z | |
dc.date.created | 2558-09-21 | |
dc.date.issued | 2551 | |
dc.description.abstract | พยาธิหนอนหัวใจสุนัขเป็นโรคที่คุกคามชีวิตของสุนัขในประเทศไทย มีการติดต่อผ่านการถูกยุงกัด ประกอบกับประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตพื้นที่เมืองร้อนซึ่งมีสภาพอากาศเหมาะสำหรับการเพิ่มจำนวนของยุงพาหะดังนั้นสุนัขทุกตัวจะอยู่ในพื้นที่ที่มีความหนาแน่นของยุงสูง เสี่ยงต่อทั้งการติดเชื้อใหม่และติดเชื้อซ้ำได้ตลอดปี ลักษณะสุนัขที่ติดเชื้อนั้นอาจมีตั้งแต่ไม่แสดงอาการของโรคจนถึงแสดงออกอย่าง รุนแรง พยาธิ ไดโรฟิลาเรีย อิมมิติส มีความชุกสูงทั้งในสุนัขจรจัดและสุนัขเลี้ยงตามบ้าน ในมนุษย์ได้รับพยาธินี้โดยบังเอิญ พยาธิก็จะตายอยู่ภายในร่างกายโดยเคลื่อนที่ไปไม่ถึงหัวใจแต่พัฒนาเป็นตัวเต็มวัยและออกลูกเป็นตัวอ่อนออกสู่กระแสเลือดได้ ดังนั้นการเกิดโรคในมนุษย์จึงเกิดจากการเคลื่อนไปอยู่ผิดที่ของตัวพยาธิ พบลักษณะเป็นก้อนได้ทั้งที่ส่วนเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังและที่เนื้อปอด โดยไม่แสดงอาการ จุดที่น่าสังเกตเมื่อมีการติดเชื้อจะทำให้เกิดรอยโรคที่ปอดเรียกว่า ฮิวแมนพัลโมนารีไดโรฟิลาริเอซิส อีกทั้งลักษณะก้อนเนื้อที่ใต้ผิวหนังคล้ายกับลักษณะของมะเร็ง ต้องใช้การสอบสวนโรคทางหัตถการและผ่าตัดเพื่อให้ได้ผลการวินิจฉัยที่ถูกต้อง การให้ยาเพื่อกำจัดและขัดขวางไม่ให้เกิดพยาธิระยะส่งในร่างกายสุนัข การควบคุมปริมาณยุงพาหะเป็นวิธีการควบคุมโรคที่ดี แต่อย่างไรก็ตาม การป้องกันการติดโรคโดยการหลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัดเป็นวิธีที่ดีที่สุดและ ควรกระทำควบคู่กันทั้งในคนและในสุนัข Heart worm is a major potentially life-threatening disease of dogs in Thailand, spread through mosquito biting. Because of Thailand is located in tropical zone, mosquitoes proliferate easily. All dogs living in a heavily populated mosquito area are at risk. It is possible that most dogs in endemic foci could be at risk for heartworm new infection and reinfection every year. Dogs may not show signs of illness until the disease is severe. Through surveys, the high prevalence of Dirofilaria immitis infection has been shown be evident in the stray and pet dogs. Humans are accidental and dead- end hosts of dirofilariae because adults worms do not reach maturity in the heart. Most infective larvae injected into humans are thought to perish; therefore, infected individuals usually are not microfilaremic. Human disease is amicrofilaremic; although, because human disease is an accidental event, only one degenerate immature larva or young adult worm usually is isolated from an ectopic position of the body. Human infection presents with either subcutaneous nodules or lung parenchymal disease that may be asymptomatic. The significance of infection in humans is that pulmonary lesions and some subcutaneous lesions are commonly labeled malignant tumors, requiring invasi investigation and surgery before a correct diagnosis is made. The interruption of the transmission cycle and the reduction of mosquitos’ population play an important role in the controlling of dirofilariasis. More over, a final line of defense for this disease is the prevention of mosquito bites in both human beings and animals. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (2551), 92-107 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-1678 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | ฮิวแมนพัลโมนารีไดโรฟิลาริเอซีส | en_US |
dc.subject | ไดโรฟิลาเรีย อิมมิติส | en_US |
dc.subject | พยาธิหนอนหัวใจสุนัข | en_US |
dc.subject | Human Pulmonary Dirofilariasis | en_US |
dc.subject | Dirofilaria Immitis | en_US |
dc.subject | Dog Heart Worm | en_US |
dc.subject | Open Access article | en_US |
dc.subject | วารสารสาธารณสุขศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Journal of Public Health | en_US |
dc.title | พยาธิหนอนหัวใจสุนัข : ภัยเงียบของคนเมือ | en_US |
dc.title.alternative | Dog heart worm: Silent epidemic for urban population | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | http://www.ph.mahidol.ac.th/phjournal/journal/38_1/09.pdf |