Publication: ความรุนแรงในครอบครัวของชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี
Issued Date
2554
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
ฝ่ายงานการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 34, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2554), 10-19
Suggested Citation
พัชรินทร์ นินทจันทร์, รณชัย คงสกนธ์, นพวรรณ เปียซื่อ, Patcharin Nintachan, Ronnachai Kongsakon, Noppawan Piaseu ความรุนแรงในครอบครัวของชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี. รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 34, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2554), 10-19. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79809
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ความรุนแรงในครอบครัวของชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี
Alternative Title(s)
Domestic Violence in a Community of Nontaburi Province
Abstract
วัตถุประสงค์: เพื่อสำรวจขนาดของปัญหาความรุนแรงในครอบครัวในชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี
วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สมาชิกในชุมชนแห่งหนึ่ง จาก 4 หมู่บ้านในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 387 คน
ผลการศึกษา: พบว่าร้อยละ 7.8 (30 คน) มีการใช้ความรุนแรงในครอบครัวโดยประสบการณ์ถูกกระทำรุนแรงด้านร่างกายที่มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ครั้งต่อเดือน พบว่าร้อยละ 4.3 ถูกใช้กำลังทุบตี/ ชกต่อยร้อยละ 4.0 ถูกขว้างปาสิ่งของใกล้มือใส่ทันทีเมื่ออีกฝ่ายมีอารมณ์ฉุนเฉียว และร้อยละ 3.1 ถูกทำร้ายทุบตีทันทีเมื่อตอบปฏิเสธอีกฝ่าย ส่วนประสบการณ์ของความรุนแรงในครอบครัวด้านการทำร้ายจิตใจที่มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ครั้งต่อเดือน พบว่าร้อยละ 6.5 มีประสบการณ์ที่อีกฝ่ายหนึ่งจะมีอารมณ์ฉุนเฉียวขึ้นมาโดยไม่มีเหตุผล และร้อยละ 5.3 ถูกด่าว่าด้วยถ้อยคำหยาบคายในขณะที่ประสบการณ์ของความรุนแรงในครอบครัวด้านเศรษฐกิจและสังคมที่มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ครั้งต่อเดือน พบว่าร้อยละ 10.2 ถูกติดตามไม่ว่าจะไปทำอะไรที่ไหน ในขณะที่ร้อยละ 5.0 ถูกอีกฝ่ายพยายามควบคุมการใช้จ่าย และร้อยละ 3.7 จะต้องรับผิดชอบชดใช้หนี้สินที่อีกฝ่ายก่อไว้
สรุปผลการศึกษา: ขนาดของปัญหาความรุนแรงภายในครอบครัวในชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี มีร้อยละ 7.8 โดยพบเป็นการกระทำทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้านจิตใจและด้านร่างกาย ควรที่ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะได้มีการนำเอาแนวทางกฎหมายที่มีอยู่มาใช้แก้ไขปัญหานี้อย่างเป็นระบบ เพราะทัศนคติของประชาชนได้ให้การตอบรับที่ดีต่อการแก้ไขปัญหานี้
Objectives: To explore the size of the problem of Domestic Violence in a community of Nontaburi province. Methods: This descriptive research included the sample of 378 from four villages in Nontaburi province. Results: The results revealed that 7.8% of the sample experienced domestic violence including physical, psychological and/or financial-social abuse. The physical abuse with greater than or equal to 1 time per month consisted of beating/ punching (4.3%), throwing an object with anger (4.0%), and slapping (3.1%). The psychological abuse with greater than or equal to 1 time per month included partner’s extreme and unreasonable emotional expression (6.5%), and extreme verbal threats (5.3%). While the financial-social abuse with greater than or equal to 1 time per month included being followed by partners (10.2%), partners’ control of expense (5.0%), and paying a loan for their partners (3.7%). Conclusion: Domestic Violence in a community of Nontaburi province was found at 7.8% including financial-social, physical, and psychological abuse. According to responses from the sample with positive attitude regarding a solution, the results suggested that associated organizations should use law enforcement to systematically solve this problem.
Objectives: To explore the size of the problem of Domestic Violence in a community of Nontaburi province. Methods: This descriptive research included the sample of 378 from four villages in Nontaburi province. Results: The results revealed that 7.8% of the sample experienced domestic violence including physical, psychological and/or financial-social abuse. The physical abuse with greater than or equal to 1 time per month consisted of beating/ punching (4.3%), throwing an object with anger (4.0%), and slapping (3.1%). The psychological abuse with greater than or equal to 1 time per month included partner’s extreme and unreasonable emotional expression (6.5%), and extreme verbal threats (5.3%). While the financial-social abuse with greater than or equal to 1 time per month included being followed by partners (10.2%), partners’ control of expense (5.0%), and paying a loan for their partners (3.7%). Conclusion: Domestic Violence in a community of Nontaburi province was found at 7.8% including financial-social, physical, and psychological abuse. According to responses from the sample with positive attitude regarding a solution, the results suggested that associated organizations should use law enforcement to systematically solve this problem.