Publication: The estimation of Carbon storage in Dry Evergreen and Dry Dipterocarp Forests in Sang Khom District, Nong Khai Province, Thailand
Issued Date
2009-12
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Environment and Resource Studies. Mahidol University
Bibliographic Citation
Environment and Natural Resources Journal. Vol.7, No.2 (2009), 1-11
Suggested Citation
Phouveth Senpaseuth, Charlie Navanugraha, Sura Pattanakiat The estimation of Carbon storage in Dry Evergreen and Dry Dipterocarp Forests in Sang Khom District, Nong Khai Province, Thailand. Environment and Natural Resources Journal. Vol.7, No.2 (2009), 1-11. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3194
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
The estimation of Carbon storage in Dry Evergreen and Dry Dipterocarp Forests in Sang Khom District, Nong Khai Province, Thailand
Alternative Title(s)
การประเมินปริมาณการสะสมคาร์บอนของป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง อ.สังคม จ.หนองคาย
Other Contributor(s)
Abstract
The objectives of this study were to identify the plant community characteristics and estimate and
compare the carbon storage in dry evergreen and dry dipterocarp forests, including with soil (physical
and chemical) properties, in Sang Khom district, Nong Khai province. Six temporary sample plots
(20×50 m2) were designed to collect data as the study area. The biomass of plant species was
estimated from each of the tree components, both aboveground (stem, branch and leave) and
belowground (root) portions, by using allometric equation. The biomass of the groundcover was also
collected and evaporated by oven drying at 80oC for 3-5 hours or until it was at a constant weight.
Then the dried weight was used to estimate the biomass content. The carbon in the biomass of the
aboveground, belowground portions of the trees and the biomass of the ground cover on the soil
surface were calculated by multiplying with a conversion factor at 0.5. In additions, the soil properties
and soil organic carbon were analyzed. The results of this study showed that the plant community characteristic of dry evergreen and dry dipterocarp forests looked like a sparse forest, while the total carbon contents of both forest types were mostly different, especially, the aboveground carbon contents which were identified as the greatest amount of carbon contents. However, the total carbon content of dry evergreen forest was more than dry dipterocarp forest: they were 31,442.01 and 15,096.17 kg/rai, respectively. The aboveground (stem, branch and leave), belowground (root and soil) and ground cover carbon content of the dry evergreen forest was about 23,737.05, 7,682.26 and 22.71 Kg/rai, respectively. The aboveground (stem, branch and leave), belowground (root and soil) and ground cover carbon content of the dry dipterocarp forest was about 9,505.00, 5,578.57 and 12.61 kg/rai, respectively.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำแนกลักษณะโครงสร้างทางสังคมของพรรณพืช ประเมิน และเปรียบเทียบ ปริมาณการสะสมคาร์บอนของป่าดิบแล้ง และ ป่าเต็งรัง พร้อมทั้งคุณสมบัติต่าง ๆ ทั้งทางกายภาพ และเคมีของ ดินในบริเวณพื้นที่ อ.สังคม จ.หนองคาย ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แปลงเก็บตัวอย่างขนาด 20×50 m2 ปริมาณมวลชีวภาพนั้นจะทำการประเมินจากส่วนประกอบต่างของต้นไม้ยืนต้น ซึ่งประกอบด้วยมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (ลำต้น, กิ่ง และใบ) และมวลชีวภาพใต้ดิน (ราก) โดยใช้สมาการ Allometric ส่วนพืชพื้นล่างจะทำการรวบรวม และอบด้วยอุณหภูมิ 80oC เป็นเวลา 3-5 ชั่วโมง หรือจนกว่าน้ำหนักจะคงที่ เพื่อนำน้ำหนักแห้งไปประเมินปริมาณมวลชีวภาพ ปริมาณคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ใต้ดิน และพืชพื้นล่าง โดยนำค่ามวลชีวภาพคูณด้วย Conversion Factor ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.5 นอกจากนี้ยังทำการประเมินคุณสมบัติต่างๆ พร้อมทั้งอินทรีย์คาร์บอนในดินด้วย ผลการศึกษาพบว่าโครงสร้างทางสังคมพืชของป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรังมีลักษณะเป็นป่าโปร่ง ในขณะที่ปริมาณการสะสมคาร์บอนทั้งหมดของป่าทั้งสองประเภทมีความแตกต่างกันอย่างมาก โดยเฉพาะปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดิน ซึ่งเป็นส่วนที่มีปริมาณการสะสมมากที่สุด โดยปริมาณการสะสมคาร์บอนทั้งหมดของป่าดิบแล้งมีปริมาณมากกว่าป่าเต็งรัง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 31, 442.01 และ 15,096.18 กก/ไร่ ตามลำดับ ซึ่งปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดิน ใต้ดิน และพืชพื้นล่างของป่าดิบแล้งเท่ากับ 23,737.05, 7,682.26 และ 22.71 กก/ไร่ ตามลำดับ โดยป่าเต็งรังมีค่าเท่ากับ 9,505.00, 5,578.56 และ 12.61 กก/ไร่ ตามลำดับ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำแนกลักษณะโครงสร้างทางสังคมของพรรณพืช ประเมิน และเปรียบเทียบ ปริมาณการสะสมคาร์บอนของป่าดิบแล้ง และ ป่าเต็งรัง พร้อมทั้งคุณสมบัติต่าง ๆ ทั้งทางกายภาพ และเคมีของ ดินในบริเวณพื้นที่ อ.สังคม จ.หนองคาย ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แปลงเก็บตัวอย่างขนาด 20×50 m2 ปริมาณมวลชีวภาพนั้นจะทำการประเมินจากส่วนประกอบต่างของต้นไม้ยืนต้น ซึ่งประกอบด้วยมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (ลำต้น, กิ่ง และใบ) และมวลชีวภาพใต้ดิน (ราก) โดยใช้สมาการ Allometric ส่วนพืชพื้นล่างจะทำการรวบรวม และอบด้วยอุณหภูมิ 80oC เป็นเวลา 3-5 ชั่วโมง หรือจนกว่าน้ำหนักจะคงที่ เพื่อนำน้ำหนักแห้งไปประเมินปริมาณมวลชีวภาพ ปริมาณคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ใต้ดิน และพืชพื้นล่าง โดยนำค่ามวลชีวภาพคูณด้วย Conversion Factor ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.5 นอกจากนี้ยังทำการประเมินคุณสมบัติต่างๆ พร้อมทั้งอินทรีย์คาร์บอนในดินด้วย ผลการศึกษาพบว่าโครงสร้างทางสังคมพืชของป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรังมีลักษณะเป็นป่าโปร่ง ในขณะที่ปริมาณการสะสมคาร์บอนทั้งหมดของป่าทั้งสองประเภทมีความแตกต่างกันอย่างมาก โดยเฉพาะปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดิน ซึ่งเป็นส่วนที่มีปริมาณการสะสมมากที่สุด โดยปริมาณการสะสมคาร์บอนทั้งหมดของป่าดิบแล้งมีปริมาณมากกว่าป่าเต็งรัง ซึ่งมีค่าเท่ากับ 31, 442.01 และ 15,096.18 กก/ไร่ ตามลำดับ ซึ่งปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดิน ใต้ดิน และพืชพื้นล่างของป่าดิบแล้งเท่ากับ 23,737.05, 7,682.26 และ 22.71 กก/ไร่ ตามลำดับ โดยป่าเต็งรังมีค่าเท่ากับ 9,505.00, 5,578.56 และ 12.61 กก/ไร่ ตามลำดับ