Publication: ปัจจัยสนับสนุนการเลือกเรียนวิชาเอกของนักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยา การบริหารงาน ยุติธรรม และสังคม (ภาคพิเศษ)
Issued Date
2561
Resource Type
Language
tha
ISSN
2350-983x
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
ภาควิชาสังคมศาตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 5, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 285-298
Suggested Citation
สายสุนีย์ ช่วยกุล, พรพิมล อุปะสัมปะกิจ, ชลธิชา ดิษฐเกษร ปัจจัยสนับสนุนการเลือกเรียนวิชาเอกของนักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยา การบริหารงาน ยุติธรรม และสังคม (ภาคพิเศษ). วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 5, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 285-298. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/43943
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ปัจจัยสนับสนุนการเลือกเรียนวิชาเอกของนักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยา การบริหารงาน ยุติธรรม และสังคม (ภาคพิเศษ)
Alternative Title(s)
Factors Contributing for Major Selection of Ph.D. Program in Criminology, Criminal Justice and Society (Special Program)
Other Contributor(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ข้อมูลของ
นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยา การบริหารงาน
ยุติธรรม และสังคม (ภาคพิเศษ) และเพื่อศึกษาปัจจัยสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจ
ในการเลือกเรียนวิชาเอกของนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา
อาชญาวิทยา การบริหารงานยุติธรรมและสังคม (ภาคพิเศษ) ซึ่งงานวิจัยนี้
เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาที่ศึกษา
ในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยา การบริหารงานยุติธรรม
และสังคม (ภาคพิเศษ) ชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2 จำนวนทั้งสิ้น 27 คน เครื่องมือ
การวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม พบว่า ความคิดเห็นต่อการรับรู้ข้อมูลของ
นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยา การบริหารงาน
ยุติธรรม และสังคม (ภาคพิเศษ) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น
รายด้าน พบว่า ทั้งด้านพฤติกรรมการรับรู้ข้อมูล และด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
อยู่ในระดับมาก และพบว่า เฉพาะปัจจัยรวมส่วนการรับรู้ข้อมูลของนักศึกษามีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจเลือกเรียนปริญญาเอกที่ระดับนัยสำคัญทาง
สถิติ 0.05
This study aimed to understand level of information perception of Ph.D. students in doctoral program of criminology and social justice administration (Special Program) and also examine factors related to decision making to register in major subjects. The study design was quantitative research and used questionnaire-based method to collect data from Ph.D. students enrolled in this program. A total of 27 students comprised of first and second year between 2015-2016. The finding showed students’ overall opinion to information perception fall into high level. When considering in each aspect, it found that opinion to information perception factor was in high level and supporting factor was in high level as well. In addition, overall of opinion to information perception correlated to decision making to study in this program (P-Value < .05).
This study aimed to understand level of information perception of Ph.D. students in doctoral program of criminology and social justice administration (Special Program) and also examine factors related to decision making to register in major subjects. The study design was quantitative research and used questionnaire-based method to collect data from Ph.D. students enrolled in this program. A total of 27 students comprised of first and second year between 2015-2016. The finding showed students’ overall opinion to information perception fall into high level. When considering in each aspect, it found that opinion to information perception factor was in high level and supporting factor was in high level as well. In addition, overall of opinion to information perception correlated to decision making to study in this program (P-Value < .05).