Publication: การติดตามประเมินผลบัณฑิต สาขาวิชาหูหนวกศึกษา รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา 2546 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
Issued Date
2548
Resource Type
Language
tha
ISSN
1686-6959
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 (2548), 59-74
Suggested Citation
ศิริวรรณ วิทยาเวช, เจนจิรา เทศทิม การติดตามประเมินผลบัณฑิต สาขาวิชาหูหนวกศึกษา รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา 2546 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 1, ฉบับที่ 2 (2548), 59-74. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1329
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การติดตามประเมินผลบัณฑิต สาขาวิชาหูหนวกศึกษา รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา 2546 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามสภาวะการทำงานของบัณฑิตสาขาวิชาหูหนวกศึกษา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล ในรุ่นที่จบปีการศึกษา 2546 โดยศึกษาความสามารถในการปรับตัว ความพึงพอใจของนักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิตและครอบครัวบัณฑิตต่อการทำงานของบัณฑิต ตลอดจนศึกษาปัญหาการทำงานและความต้องการช่วยเหลือของบัณฑิต ประชากรที่ศึกษาเป็นบัณฑิต ปีการศึกษา 2546 จำนวน 82 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบติดตามและแบบสำรวจรวม จำนวน 3 ชุด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้บัณฑิตตอบแบบสอบถามระหว่างการเข้าร่วมโครงการติดตามประเมินผลและการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ ผลการวิจัยพบว่าบัณฑิตได้งานทำร้อยละ 92.7 ทำงานในหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ร้อยละ 85.5 ประกอบอาชีพส่วนตัว ร้อยละ 14.5 ตำแหน่งงานที่ทำได้แก่ ตำแหน่งครู ผู้ช่วยสอน เจ้าหน้าที่ธุรการ พนักงานบริษัท ล่ามภาษามือและอื่นๆ การปรับตัวในการทำงานของบัณฑิตอยู่ในระดับดี (2.40) บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง (2.21) ผู้ใช้บัณฑิตและครอบครัวบัณฑิตมีความพึงพอใจต่อคุณภาพของบัณฑิตอยู่ในระดับมาก (3.86 และ 2.60) ปัญหาการทำงานของบัณฑิตคือ การขาดความรู้ความเข้าใจและขาดประสบการณ์ในงานที่ปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การควบคุมชั้นเด็กเล็ก การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเด็ก การจัดทำแผนรายบุคคล ปัญหาการสื่อสารและอื่นๆ บัณฑิตมีความต้องการให้วิทยาลัยราชสุดาจัดอบรมความรู้ทางวิชาการและด้านการปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น
The purpose of this research is to follow-up the deaf students graduated from Ratchasuda College, Mahidol University about the ability to work adjustment, the job satisfaction, employers and family member satisfaction, their problems and needs. The population consists of 82 graduated students in 2003 academic year, 320 employers and 82 family members. Three questionnaires were distributed; one to graduates by hand in the follow-up seminar, the other to employers and family members by mail. The findings showed that graduates are employed 92.7%, working in organizations 85.5% and worked for their own business 14.5%. The positions are teacher, teacher assistant, clerk, officer, sign language interpreter etc. Most graduates could adjust themselves to their work environment quite well (2.40). The most graduates were satisfied their job moderately (2.21). The employers and family members were highly satisfied with the graduates' capability (3.86 and 2.60). The graduates' problems were lacking of knowledge, experience in controlling kindergarten's class and in setting student individual plan, and also not knowing how to correct the students' improper behavior. Most of them were insufficient in writing and reading skill. They need some more academic and on the job training courses from Ratchasuda College in order to make them accomplish their job.
The purpose of this research is to follow-up the deaf students graduated from Ratchasuda College, Mahidol University about the ability to work adjustment, the job satisfaction, employers and family member satisfaction, their problems and needs. The population consists of 82 graduated students in 2003 academic year, 320 employers and 82 family members. Three questionnaires were distributed; one to graduates by hand in the follow-up seminar, the other to employers and family members by mail. The findings showed that graduates are employed 92.7%, working in organizations 85.5% and worked for their own business 14.5%. The positions are teacher, teacher assistant, clerk, officer, sign language interpreter etc. Most graduates could adjust themselves to their work environment quite well (2.40). The most graduates were satisfied their job moderately (2.21). The employers and family members were highly satisfied with the graduates' capability (3.86 and 2.60). The graduates' problems were lacking of knowledge, experience in controlling kindergarten's class and in setting student individual plan, and also not knowing how to correct the students' improper behavior. Most of them were insufficient in writing and reading skill. They need some more academic and on the job training courses from Ratchasuda College in order to make them accomplish their job.
Keyword(s)
การติดตามประเมินผล
สาขาวิชาหูหนวกศึกษา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
สภาวะการทำงานของคนหูหนวก
สภาวะการทำงานของผู้พิการทางการได้ยิน
การปรับตัวของคนหูหนวก
การปรับตัวของผู้พิการทางการได้ยิน
ปัญหาการทำงานของคนหูหนวก
ปัญหาการทำงานของผู้พิการทางการได้ยิน
คนหูหนวกกับการใช้ชีวิต
ผู้พิการทางการได้ยินกับการใช้ชีวิต
Deaf students
Deaf in daily life
Deaf student in daily life
Ratchasuda College, Mahidol University
Job satisfaction
Work adjustment
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Open Access article
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities
สาขาวิชาหูหนวกศึกษา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
สภาวะการทำงานของคนหูหนวก
สภาวะการทำงานของผู้พิการทางการได้ยิน
การปรับตัวของคนหูหนวก
การปรับตัวของผู้พิการทางการได้ยิน
ปัญหาการทำงานของคนหูหนวก
ปัญหาการทำงานของผู้พิการทางการได้ยิน
คนหูหนวกกับการใช้ชีวิต
ผู้พิการทางการได้ยินกับการใช้ชีวิต
Deaf students
Deaf in daily life
Deaf student in daily life
Ratchasuda College, Mahidol University
Job satisfaction
Work adjustment
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Open Access article
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities