Publication: ประสิทธิภาพในการต้านเชื้อแบคทีเรียของโปรพอลิสต่อเชื้อเอ็นเทอโรคอกคัส ฟีคัสลิส และเชื้อพอร์ฟีโรโมแนส จินจิวาลิส
Accepted Date
2011-12-26
Issued Date
2011-09
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-5614 (printed)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
จินตนา สาระบรรจง, ธนิยา หมวดเชียงคะ. ประสิทธิภาพในการต้านเชื่อแบคทีเรียของโปรพอลิสต่อเชื้อเอ็นเทอโรคอกคัส ฟีคัสลิส และเชื้อพอร์ฟีโรโมแนส จินจิวาลิส. ว ทันต มหิดล. 2554; 31(3): 131-40.
Suggested Citation
จินตนา สาระบรรจง, Jintana Sarabunchong, ธนิยา หมวดเชียงคะ, Thaniya Muadcheingka ประสิทธิภาพในการต้านเชื้อแบคทีเรียของโปรพอลิสต่อเชื้อเอ็นเทอโรคอกคัส ฟีคัสลิส และเชื้อพอร์ฟีโรโมแนส จินจิวาลิส. จินตนา สาระบรรจง, ธนิยา หมวดเชียงคะ. ประสิทธิภาพในการต้านเชื่อแบคทีเรียของโปรพอลิสต่อเชื้อเอ็นเทอโรคอกคัส ฟีคัสลิส และเชื้อพอร์ฟีโรโมแนส จินจิวาลิส. ว ทันต มหิดล. 2554; 31(3): 131-40.. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1095
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ประสิทธิภาพในการต้านเชื้อแบคทีเรียของโปรพอลิสต่อเชื้อเอ็นเทอโรคอกคัส ฟีคัสลิส และเชื้อพอร์ฟีโรโมแนส จินจิวาลิส
Alternative Title(s)
Antimicrobial efficacy of propolis against enterococcus faecalis and porphyromonas gingivalis.
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการต้านเชื้อแบคทีเรียของโปรพอลิสต่อเชื้อแบคทีเรียที่พบได้ในคลองรากฟันที่ติดเชื้อ 2 ชนิด
วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา : นำโปรพอลิส (โกลบอลสตาร์โปรพอลิส) ซึ่งประกอบด้วยโปรพอลิสละลายในตัวทำละลายโมโนโพรไพลีนไกลคอล ในปริมาณ 1:1 โดยน้ำหนัก เตรียมสารละลายโปรพอลิสข้างต้นโดยเติมดีเอ็มเอสโอร้อยละ 5 คิดเป็นสารละลายตั้งต้นของโปรพอลิส 515 มิลลิกรัมต่มมิลลิลิตร จากนั้นเจือจางด้วยน้ำกลั่นให้ได้สารละลายโปรพอลิสความเข้มข้น 103, 20.6 และ 4.12 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ทดสอบความสามารถในการยับยั้งเชื้อเอ็นเทอโรคอกคัส ฟีคัลลิส และเชื้อพอร์ฟิโรโมแนส จินจิวาลิสด้วยวิธีดิสค์ดิฟฟิวชั่น โดยมีคลอเฮกซิดีนร้อยละ 0.2 เป็นตัวควบคุมบวกและหาความเข้มข้นของโปรพอลิสที่น้อยที่สุดที่มีผลทำลายเชื้อทั้ง 2 ชนิดด้วยวิธีบรอธไดลูชั่น
ผลการศึกษา : โปรพอลิสสามารถยับยั้งและทำลายเชื้อแบคที่เรียทั้ง 2 ชนิดได้โดยค่าความเข้มข้นของโปรพอลิสที่น้อยที่สุดที่มีผลทำลายเชื้อเอ็นเทอโรคอกคัสฟีคัลลิส และเชื้อพอร์ฟิโรโมแนส จินจิวาลิส คือ 34.33 และ 3.22 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตรตามลำดับ
บทสรุป : โปรพอลิสสามารถยับยั้งและทำลายเชื้อเอ็นเทอโรคอกคัส ฟีคัลลิสและเชื้อพอร์ฟิโรโมแนส จินจิวาลิส แต่มีประสิทธิภาพน้อยกว่าคลอร์เฮกซิดีนร้อยละ 0.2
Objective: To evaluate antimicrobial efficacy of propolis against two species of bacteria found in endodontic infections. Materials and methods: Propolis (Global star propolis) which composed of 50% propolis and 50% monopropylene glycol (w/w) was dissolved in 5% DMSO to obtain the concentration of 515 mg/ml as the working solution. Then this solution further was diluted in distilled water to obtain the concentration of 103, 20.6 and 4.12 mg/ml. The antimicrobial activities of propolis on Enterococcus faecalis and Porphyromonas gingivalis were tested by the disc diffusion technique, using 0.2% chlorhexidine as a positive control. Minimal bactericidal concentrations were determined by using the broth dilution method. Results: Propolis was effective against Enterococcus faecalis and Porphyromonas gingivalis. Minimal bactericidal concentrations of propolis were 34.33 mg/ml for Enterococcus faecalis and 3.22 mg/ml for Porphyromonas gingivalis. Conclusion: Propolis was effective against Enterococcus faecalis and Porphyromonas gingivalis but less efficient than 0.2% chlorhexidine.
Objective: To evaluate antimicrobial efficacy of propolis against two species of bacteria found in endodontic infections. Materials and methods: Propolis (Global star propolis) which composed of 50% propolis and 50% monopropylene glycol (w/w) was dissolved in 5% DMSO to obtain the concentration of 515 mg/ml as the working solution. Then this solution further was diluted in distilled water to obtain the concentration of 103, 20.6 and 4.12 mg/ml. The antimicrobial activities of propolis on Enterococcus faecalis and Porphyromonas gingivalis were tested by the disc diffusion technique, using 0.2% chlorhexidine as a positive control. Minimal bactericidal concentrations were determined by using the broth dilution method. Results: Propolis was effective against Enterococcus faecalis and Porphyromonas gingivalis. Minimal bactericidal concentrations of propolis were 34.33 mg/ml for Enterococcus faecalis and 3.22 mg/ml for Porphyromonas gingivalis. Conclusion: Propolis was effective against Enterococcus faecalis and Porphyromonas gingivalis but less efficient than 0.2% chlorhexidine.