Publication:
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง แรงสนับสนุน ทางสังคม ความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนผิวหนัง ชนิดทางเดินปัสสาวะ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยทําทางเดินปัสสาวะใหม่ระยะยาว

dc.contributor.authorทิฆัมพร อิทธิพงษ์วัฒน์en_US
dc.contributor.authorThikumporn Ittipongwaten_US
dc.contributor.authorสุพร ดนัยดุษฎีกุลen_US
dc.contributor.authorSuporn Danaidutsadeekulen_US
dc.contributor.authorอรพรรณ โตสิงห์en_US
dc.contributor.authorOrapan Thosingen_US
dc.contributor.authorธีระพล อมรเวชสุกิจen_US
dc.contributor.authorTeerapon Amornvesukiten_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2018-04-01T11:30:29Z
dc.date.available2018-04-01T11:30:29Z
dc.date.created2561-04-01
dc.date.issued2556
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง แรงสนับสนุนทางสังคม ความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนผิวหนัง ชนิดทางเดินปัสสาวะ และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยทําทางเดินปัสสาวะใหม่ระยะยาว รูปแบบการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายความสัมพันธ์ วิธีการดําเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป มาตรวจตามนัดภายหลังผ่าตัดครั้งที่1 หรือครั้งที่ 2 ตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 85 ราย จากโรงพยาบาลตติยภูมิ 3 แห่ง เครื่องมือรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) คุณภาพชีวิตผู้ป่วยทําทางเดินปัสสาวะใหม่ระยะยาว 3) ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง 4) แบบสัมภาษณ์แรงสนับสนุนทางสังคม 5) แบบสังเกตความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนผิวหนัง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน และค่าสหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล ผลการวิจัย: พบกลุ่มตัวอย่างที่ทําทางเดินปัสสาวะใหม่ระยะยาวชนิด ileal conduit ร้อยละ 54.1 รองลงมาเป็นชนิดpercutaneous nephrostomy ร้อยละ 32.9 มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และแรงสนับสนุนทางสังคมระดับปานกลาง ทางเดินปัสสาวะใหม่เป็นชนิดไม่มีสายร้อยละ 60 และมีสายร้อยละ 40 ความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนผิวหนัง พบผิวหนังที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง (ระดับ 0) มากที่สุดร้อยละ 52.9 รองลงมาเป็นความรุนแรงระดับ 1 และ 2 ตามลําดับ และคุณภาพชีวิตผู้ป่วยทางเดินปัสสาวะใหม่ระยะยาวอยู่ในระดับปานกลาง ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองกับคุณภาพชีวิตมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง (r = .34, p < .01) แรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตระดับต่ํา (r = .2, p < .05) ส่วนความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนผิวหนังและชนิดทางเดินปัสสาวะไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยทําทางเดินปัสสาวะใหม่ระยะยาวen_US
dc.description.abstractPurpose: To explore the relationships among self-esteem, social support, severity of skincomplication, urinary diversion type and quality of life in patients with long term urinary diversion.Design: Descriptive correlational research.Methods: The sample comprised 85 patients who underwent long term urinary diversion andcame for their first or second follow-up care visit at the out-patient urological clinics residing in threetertiary care hospitals in Bangkok, Thailand. The data collection instruments comprised demographicdata form, a self-esteem questionnaire, a social support questionnaire, a severity of skin complicationobservation form, and a quality of life questionnaire. Descriptive statistics, Pearson product moment,spearman rank orders and point biserial correlations were employed for statistical analysis.Main findings: The sample had ileal conduit type 54.1%, followed by 32.9% of percutaneousnephrostomy. The results revealed that their self-esteem and social support were at a moderate level. In regard to type of urinary diversion, 60% had urinary diversion without catheter while 40% with catheter.The majority of them (52.9%) did not have periostomy skin complication (level 0) while the remaindershad level 1 and 2 of the severity. The quality of life was reported to be at a moderate level. Self-esteemhad a positively moderate correlation with quality of life (r = .34, p < .01). Social support had a positivelylow level correlation with quality of life (r = .2, p < .05). Neither the type of urinary diversion nor theseverity of skin complication was correlated with quality of life. Conclusion and recommendations: In order to facilitate smooth transition among patients withlong term urinary diversion to better quality of life, nursing intervention to enhance the patients’ self-esteem and social support should be developeden_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 31, ฉบับที่ 1 ( ม.ค. -มี.ค. 2556), 29-37en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/10446
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตen_US
dc.subjectความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองen_US
dc.subjectแรงสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectภาวะแทรกซ้อนผิวหนังen_US
dc.subjectผู้ป่วยทําทางเดินปัสสาวะใหม่en_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง แรงสนับสนุน ทางสังคม ความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนผิวหนัง ชนิดทางเดินปัสสาวะ และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยทําทางเดินปัสสาวะใหม่ระยะยาวen_US
dc.title.alternativeThe Relationships among Self-esteem, Social Support, Severity of Skin Complication, Urinary Diversion Type and Quality of Life in Long term Urinary Diversion Patientsen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/10550

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-suporn-2556.pdf
Size:
166.41 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections