Publication: หน่วยจัดการความรู้เรื่องความรุนแรงในครอบครัว
Issued Date
2554
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 34, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2554), 77-80
Suggested Citation
รณชัย คงสกนธ์, Ronnachai Kongsakon หน่วยจัดการความรู้เรื่องความรุนแรงในครอบครัว. รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 34, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2554), 77-80. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79815
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
หน่วยจัดการความรู้เรื่องความรุนแรงในครอบครัว
Alternative Title(s)
Domestic Violence Knowledge Management Center
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
"ความรุนแรงในครอบครัว" เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมที่มีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงและมีความช้ชอนมากขึ้น เพราะสังคมยังมีเจตคติที่ผิดว่า ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวนี้ถือเป็นเรื่องส่วนตัวภายในครอบครัว ที่บุคคลอื่นหรือบุคคลภายนอกไม่ควรเช้าไปยุ่งเกี่ยว
ความรุนแรงในครอบครัวจึงเป็นปัญหาใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ทั้งในระดับบุคคลครอบครัวชุมชน และประเทศชาติ ในระดับบุคคลที่พบเห็นในสังคมเป็นอันดับตันคือ "ผู้หญิง" ที่มักถูกสามีของตนกระทำรุนแรงมากถึงร้อยละ 90 เกิดปัญหาสุขภาพตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นบาดแผลจากการถูกทำร้าย ความพิการทางกาย การติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์ การอักเสบในอุ้งเชิงกรานการติดเชื้อเอชไอวี่ รวมทั้งปัญหา ผลกระทบทางต้านจิตใจจะมีลักษณะแตกต่างกันไป บางคนมีอาการอาการซึมเศร้าหวาตกลัว เครียด เก็บคต วิตกกังวล ย้ำคิดย้ำทำ ขาตความเชื่อมั่นในตนเอง ประณามตนเอง บุคลิกภาพผิดปกติ สภาพการกินผิดปกติ ไม่ตอบสนองทางเพศ หรืออาจสูญเสียความรู้สึกทางเพศ บางคนทุกข์ทรมานใจจนต้องพึ่งยาเสพติด
สำหรับปัญหาในระดับครอบครัวนั้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสายใยความสัมพันในครอบครัวที่นับวันจะเสื่อมสลายทั้งในด้านปัญหาการหย่รง บทบาทที่ไม่สมบูรณ์ของผู้เป็นพ่อและแม่ และปัญหาเต็กถูกทอดทิ้ง ทั้งนี้ผลจากการสำรวจพบว่า เด็กที่ประสบและเห็นเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวจะมีปัญหาทางจิตใจรุนแรงไม่ต่งกับเด็กที่ถูกทารุณกรรมทางร่งกายและทางเพศโดยตรง และหากเด็กต้องเผชิญกับสภาพเหตุการณ์จริงที่แม่ถูกทุบตีหรือทำทารุณกรรมจะส่งผลให้เด็กมีแนวโน้มเกิดปัญหาทางอารมณ์ หรือมีพฤติกรรมที่รุนแรงมากกว่าเด็กที่ไม่มีประสบการณ์ความรุนแรงในครอบครัวอย่างน้อย 5 เท่า