Publication:
การสำรวจปริมาณรังสีอ้างอิงที่ผู้ป่วยได้รับจากการรักษามะเร็งตับโดยวิธีทีเอซีอีของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

dc.contributor.authorปวริศร ทิมาสาร
dc.contributor.authorสุรภี อ่ำโต
dc.contributor.authorวชิราภรณ์ ดีภา
dc.contributor.authorชัยณรงค์ นวลคล้าย
dc.contributor.authorพิรญา สุขศิวกร
dc.contributor.authorPawarisorn Timasan
dc.contributor.authorSurapee Amto
dc.contributor.authorWachiraporn Deepa
dc.contributor.authorChainarong Nuanklai
dc.contributor.authorPiraya Suksivakorn
dc.date.accessioned2025-05-20T03:52:48Z
dc.date.available2025-05-20T03:52:48Z
dc.date.created2568-05-20
dc.date.issued2566
dc.date.received2563-06-03
dc.description.abstractมะเร็งตับ (Hepatocellular Carcinoma: HCC) เป็นโรคมะเร็งที่สามารถพบได้มากเป็นอันดับต้นๆ ของ โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ซึ่งการรักษาที่ดีที่สุดของมะเร็งตับคือการผ่าตัดเอาเนื้องอกออก แต่ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถผ่าตัดได้ เนื่องจากมะเร็งตับมักเกิดร่วมกับภาวะตับอักเสบเรื้อรัง (Chronic Hepatitis) และภาวะตับแข็ง (Cirrhosis) หน่วยรังสีร่วมรักษา (Interventional Radiology: IR) จึงเข้ามามีบทบาทในการรักษามะเร็งตับร่วมกับแพทย์สาขาอื่น ๆ ซึ่งวิธี Transarterial Chemoembolization (TACE) ก็เป็นหนึ่งในวิธีการรักษามะเร็งตับแต่เนื่องจากการตรวจรักษามะเร็งตับด้วยวิธีด้วย TACE มีการใช้รังสีเอกซ์ซึ่งเป็นรังสีประเภทที่ก่อให้แตกตัวได้ (Ionizing Radiation) จึงอาจจะส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับความเสี่ยงหรืออันตรายจากรังสีได้ การสำรวจปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับจากการรักษามะเร็งตับโดยวิธีทีเอซีอี (TACE) ของ ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำไปเปรียบเทียบกับปริมาณรังสีอ้างอิง (DRL) ของผู้ป่วยที่รักษามะเร็งตับโดยวิธี TACE จากการศึกษาอื่น ๆ และเป็นข้อมูลอ้างอิง เพื่อประเมินคุณภาพการใช้ปริมาณรังสีสำหรับการรักษามะเร็งตับโดยวิธีทีเอซีอี (TACE) จึงได้ทำการสำรวจปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้จากการรักษามะเร็งตับโดยวิธี TACE ด้วยเครื่องเอกซเรย์ระบบหลอดเลือด Toshiba รุ่น Infinix-i ณ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2561 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2562 ซึ่งผลจากการศึกษาพบว่าปริมาณรังสีอ้างอิง (DRL; Typical Value) (ค่ามัธยฐาน) มีค่า DAP และ CAK คือ 159.13 Gy.cm2 และ 518.76 mGy ตามลำดับ ซึ่งเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับปริมาณรังสีอ้างอิง (DRL; Local DRLs, National DRLs) ของผู้ป่วยที่รักษามะเร็งตับโดยวิธี TACE จากการศึกษาอื่น ๆ พบว่าค่าที่ได้จากค่า DAP และค่า CAK มีค่าน้อยกว่าทุกการศึกษา ซึ่งจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า ค่าพารามิเตอร์ที่ใช้ในปัจจุบัน นั่นคือใช้ระบบควบคุมปริมาณรังสีตามขนาดหรือมวลของผู้ป่วย (Automatic Brightness Control: ABC) และค่าพารามิเตอร์อื่น ๆ นั้นสามารถทำการถ่ายภาพทางรังสี ซึ่งให้ปริมาณรังสีที่เหมาะสมเมื่อเปรียบกับการศึกษาอื่น ๆ และได้ภาพที่มีคุณภาพเพียงพอต่อการวินิจฉัย และใช้นำทางในการรักษาของรังสีแพทย์ และอาจมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ร่วมด้วย
dc.description.abstractHepatocellular Carcinoma (HCC) can be found as the fourth rank of most common cancer in Thailand. The best method of Hepatocellular Carcinoma treatment is tumor removal surgery. In some patients who cannot undergo surgery because HCC often occurs with chronic hepatitis and cirrhosis, therefore, Interventional Radiology (IR) gets involved with HCC treatment with other several sciences of clinicians. Transarterial Chemoembolization (TACE) is also another popular methods in HCC treatment. However, TACE uses x-rays which is a kind of ionizing radiation that cause health effects and health hazard if not properly used. The survey of radiation dose that the HCC patients obtained from TACE of the Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital, Mahidol University has major objectives to compare with DRL that the HCC patients obtained from other TACE treatment method and to be a reference data source in order to evaluate the quality of using radiation dose for Hepatocellular Carcinoma treatment by TACE technique. The researcher surveys radiation dose that the HCC patients obtained from TACE method with digital subtraction Angiography manufacturer Toshiba, model Infinix-i at the Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital, Mahidol University from November, 2018 to February 2019. The research finding shows that the DRL; Typical Value (median values) of Dose Area Product (DAP) at 159.13 Gy.cm2 and the Cumulative Air Kerma (CAK) at 518.76 mGy, respectively. The comparison of DRL (Local DRLs, National DRLs) result among the HCC patients obtained from TACE in this research and other researches, it was found that DAP and CAK values were less than all researches. This research finding showed the current parameter is the control system according to the body size of the patients (Automatic Brightness Control: ABC). Whereas other parameter values can be done through radiography which uses proper radiation dose and the effect of exposure technique on image quality is sufficient to diagnose and be a guideline for the radiologist's treatment. Moreover, there can be other factors included.
dc.format.extent15 หน้า
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 10, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2566), 28-42
dc.identifier.doihttps://doi.org/10.14456/jmu.2023.13
dc.identifier.issn2392-5515
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/110235
dc.language.isotha
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectมะเร็งตับ
dc.subjectทีเอซีอี
dc.subjectปริมาณรังสีอ้างอิง
dc.subjectHepatocellular Carcinoma
dc.subjectTransarterial Chemoembolization
dc.subjectTACE
dc.subjectDiagnostic Reference Level
dc.titleการสำรวจปริมาณรังสีอ้างอิงที่ผู้ป่วยได้รับจากการรักษามะเร็งตับโดยวิธีทีเอซีอีของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.title.alternativeA Survey on Diagnostic Reference Level from Transarterial chemoembolization (TACE) case at The Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital
dc.typeResearch Article
dcterms.accessRightsopen access
dcterms.dateAccepted2565-04-19
dspace.entity.typePublication
oaire.citation.endPage42
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage28
oaire.citation.titleวารสาร Mahidol R2R e-Journal
oaire.citation.volume10
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชารังสีวิทยา

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
ra-ar-surapee-2566.pdf
Size:
2.58 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

Collections