Publication: ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลปริญญาตรี
Issued Date
2566
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
tha
ISSN
2822-1370 (Print)
2822-1389 (Online)
2822-1389 (Online)
Journal Title
วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล
Volume
29
Issue
2
Start Page
251
End Page
264
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2566), 251-264
Suggested Citation
ชื่นจิตร จันทร์สว่าง, สุนทรี เจียรวิทยกิจ, Chuenjit Junsawang, Soontaree Jianvitayakij ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลปริญญาตรี. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2566), 251-264. 264. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98957
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลปริญญาตรี
Alternative Title(s)
Relationships between Health Literacy, Digital Health Literacy, and Health Behaviors among Undergraduate Nursing Students
Author's Affiliation
Abstract
การวิจัยเชิงบรรยายหาความสัมพันธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบออนไลน์เพียงอย่างเดียวในช่วงการระบาดของโควิด-19 จำนวน 179 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และแบบสอบถามพฤติกรรมสุุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษามากกว่าครึ่งหนึ่งมีความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับเพียงพอและมีพฤติกรรมสุขภาพอยู่ในระดับพอใช้ ความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลมีค่าคะแนนเฉลี่ย ค่อนข้างสูง ผลการศึกษายังพบว่าความรอบรู้ด้านสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับพฤติกรรมสุขภาพ ดังนั้น การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาพยาบาลโดยการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและการมีปฏิสัมพันธ์รวมทั้งการรู้เท่าทัันสื่อ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาพยาบาลมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี
This descriptive correlational research aimed to examine the relationships between health literacy, digital health literacy, and health behaviors among undergraduate nursing students. The sample consisted of 179 undergraduate nursing students at a university who received online-only teaching course during the COVID-19 pandemic.The participants were selected by purposive sampling. The online questionnaires included the Demographic Data Questionnaire, Health Literacy Questionnaire, Digital Health Literacy Questionnaire, and Health Behaviors Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics, Pearson correlation coefficients, and Spearman’s rank correlation coefficients. The results showed that more than half of the students had adequate health literacy and moderate health behaviors, and the mean digital health literacy score was rather high. In addition, the results revealed that health literacy and digital health literacy were positively associated with health behaviors. Thus, developing health literacy and digital health literacy in nursing education is essential. Learning activities should be designed to improve communication skills, interactive skills, and media and information literacy to promote healthy behavior of nursing students.
This descriptive correlational research aimed to examine the relationships between health literacy, digital health literacy, and health behaviors among undergraduate nursing students. The sample consisted of 179 undergraduate nursing students at a university who received online-only teaching course during the COVID-19 pandemic.The participants were selected by purposive sampling. The online questionnaires included the Demographic Data Questionnaire, Health Literacy Questionnaire, Digital Health Literacy Questionnaire, and Health Behaviors Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics, Pearson correlation coefficients, and Spearman’s rank correlation coefficients. The results showed that more than half of the students had adequate health literacy and moderate health behaviors, and the mean digital health literacy score was rather high. In addition, the results revealed that health literacy and digital health literacy were positively associated with health behaviors. Thus, developing health literacy and digital health literacy in nursing education is essential. Learning activities should be designed to improve communication skills, interactive skills, and media and information literacy to promote healthy behavior of nursing students.