Publication:
การจัดการและการตัดสินใจด้านการเงินของครอบครัว ใน 4 จังหวัด

dc.contributor.authorศิริกุล อิศรานุรักษ์en_US
dc.contributor.authorสุธรรม นันทมงคลชัยen_US
dc.contributor.authorดวงพร แก้วศิริen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียนen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัวen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยาen_US
dc.date.accessioned2017-06-19T08:33:35Z
dc.date.available2017-06-19T08:33:35Z
dc.date.created2017-06-19
dc.date.issued2547
dc.description.abstractเศรษฐกิจในครอบครัวเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความมั่นคงของครอบครัว และมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของครอบครัว การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแบบแผนการจัดการเรื่องการเงินในครอบครัวและการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้จ่ายในเรื่องต่างๆ ของครอบครัว กลุ่มตัวอย่างคือครอบครัวที่ สามีภรรยาอยู่ด้วยกัน จำนวน 427 ครอบครัว ใน 4 จังหวัด เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์สามีหรือภรรยาคนใดคนหนึ่ง ในระหว่างเดือนเมษายนถึงกันยายน 2545 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ปจั จัย ลักษณะประชากรกับวิธีการจัดการ และการตัดสินใจด้านการเงินของครอบครัวโดยสถิติ ไคว์แสควร์ ผลการศึกษาพบว่า การจัดการเงินในครอบครัวโดยรายได้ของสามีและภรรยารวมกันแล้ว ให้ภรรยาถือเงินพบมากที่สุดคือ ร้อยละ 59.5 และพบว่าเรื่องกิจวัตรประจำวันของครอบครัว ภรรยาหรือแม่บ้านจะเป็นผู้ตัดสินใจเป็นส่วนใหญ่ คือร้อยละ 70 ขึ้นไปส่วนการซื้อสิ่งของที่มีราคาแพงและการลงทุนเรื่องอาชีพ ส่วนใหญ่จะเป็นการตัดสินใจร่วมกัน คือร้อยละ 50-70 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน แบบแผน การจัดการการเงิน คือระดับการศึกษาของสามีและภรรยาen_US
dc.description.abstractFamily’s economic situation relates to family security and affects family’s quality of life. This study aimed to explore the pattern of household money management and decision making. The samples consisted of 427 families in four provinces that husband and wife lived together. The data were collected from April to September 2002. The chi-square was used to analyse the association between demographic characteristics and the pattern of household money management. The results showed that the most common household money management pattern was wife kept total income of the couple, 59.5 percent. Wife was a main person who made a decision on daily activities of the family, more than 70 percent. Both husband and wife were a main persons who decided to buy expensive products or investment in household business, 50 to 70 percents. The factors related to household money management were educational level of husband and wife.en_US
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 2, ฉบับที่ 2 (2547),1-8en_US
dc.identifier.issn1905-1387
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2041
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดล.en_US
dc.rights.holderสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน.มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectครอบครัวen_US
dc.subjectFamilyen_US
dc.subjectครัวเรือนen_US
dc.subjectHouseholden_US
dc.subjectการจัดการการเงินen_US
dc.subjectMoney managementen_US
dc.subjectการตัดสินใจด้านการเงินen_US
dc.subjectMoney decision makingen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาen_US
dc.subjectJournal of Public Health and Developmenten_US
dc.titleการจัดการและการตัดสินใจด้านการเงินของครอบครัว ใน 4 จังหวัดen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ad-ar-sirikul-2547.pdf
Size:
290.34 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections