Publication:
ผลของโปรแกรมการนวดปากในทารกเกิดก่อนกำหนดต่อระยะเปลี่ยนผ่านจากการให้นมทางสายยางสู่การกินนมทางปากและน้ำหนักตัว

dc.contributor.authorนุชนารถ ปรึกษาดีen_US
dc.contributor.authorทิพวัลย์ ดารามาศen_US
dc.contributor.authorศรีสมร ภูมนสกุลen_US
dc.contributor.authorNutchanart Pruksadeeen_US
dc.contributor.authorTipawan Daramasen_US
dc.contributor.authorSrisamorn Phumolsakulen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.date.accessioned2019-10-22T08:48:33Z
dc.date.available2019-10-22T08:48:33Z
dc.date.created2562-10-22
dc.date.issued2560
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการนวดปากต่อระยะ เปลี่ยนผ่านจากการให้นมทางสายยางสู่การกินนมทางปากและน้ำหนักตัวของทารกเกิดก่อน กำหนด กลุ่มตัวอย่างเป็นทารกเกิดก่อนกำหนดอายุครรภ์ 31-34 สัปดาห์ที่เข้ารับการรักษาใน หอผู้ป่วยบำบัดวิกฤตทารกแรกเกิดและหอผู้ป่วยบำบัดทารกแรกเกิดกึ่งวิกฤต ระหว่างเดือน สิงหาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558 จำนวน 32 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และสุ่มเข้ากลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมนวดปากกระตุ้นการดูดกลืน 16 ราย และกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ 16 ราย บันทึกระยะเวลาตั้งแต่ทารกเริ่ม กินนมเองทางปากจนถึงวันแรกที่ทารกสามารถกินนมเองทางปากเองได้ 8 มื้อติดต่อกัน 2 วันและ ติดตามน้ำหนักทารกตั้งแต่วันแรกที่เข้าร่วมการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้วยสถิติไคสแควร์ และสถิติทีวิเคราะห์ระยะเปลี่ยนผ่านจากการให้นมทางสายยางสู่การกินนมทางปากและน้ำหนักตัว โดยใช้สถิติที ผลการวิจัยพบว่า ทารกเกิดก่อนกำหนดกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมนวดปากกระตุ้น การดูดกลืนมีระยะเปลี่ยนผ่านจากการให้นมทางสายยางสู่การกินนมทางปากน้อยกว่าทารก เกิดก่อนกำหนดกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับน้ำหนักตัว เฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นต่อวันของทารกเกิดก่อนกำหนดกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการนวดปากกระตุ้น การดูดกลืน กับทารกเกิดก่อนกำหนดกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติไม่แตกต่างกัน จากผลการศึกษาวิจัยนี้ สามารถนำวิธีการนวดปากกระตุ้น การดูดกลืนไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติพยาบาลเพื่อสร้างทักษะ และส่งเสริมการดูดกลืนในทารกเกิดก่อนกำหนดได้en_US
dc.description.abstractThis present study was a quasi-experimental research based on a two-group post test design for the purpose of studying the effect of the Premature Infant Oral Motor Intervention (PIOMI) on the transition time from tube to oral feeding and weight gain. The sample consisted of 32 preterm infants with gestational age of 31 to 34 weeks who had been admitted to the neonatal intensive care unit (NICU) and high risk ward between August and November, 2015. The sample was selected by purposive sampling and randomly assigned to either the control group or the experimental group. Sixteen premature infants in the experimental group received PIOMI, while the other 16 in the control group received conventional nursing care. Data collection was performed by recording the infants’ weight and the date from beginning of independent oral feeding until the infant was able to complete all the 8 feedings per day for two consecutive days. Chi-square and independent t-test were used to analyze data regarding demographic characteristics. The transition time from tube to oral feeding and weight gain were analyzed using independent t-test. The study findings showed that premature infants who received PIOMI had a statistically significant shorter transition time from tube to oral feeding than those who received conventional nursing care. However, the mean weight gain per day of the subjects in both groups was not significantly different. Based on these findings, the PIOMI could be used as a nursing practice guideline to promote the development of sucking and swallowing skills in premature infants.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 23, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 257-268en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/47942
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectทารกเกิดก่อนกำหนดen_US
dc.subjectการนวดปากกระตุ้นการดูดกลืนen_US
dc.subjectน้ำหนักตัวen_US
dc.subjectระยะเปลี่ยนผ่านจากการให้นมทางสายยางสู่การกินนมทางปากen_US
dc.subjectPremature Infantsen_US
dc.subjectOral stimulationen_US
dc.subjectBody weighten_US
dc.subjectTransition time from tube to oral feedingen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการนวดปากในทารกเกิดก่อนกำหนดต่อระยะเปลี่ยนผ่านจากการให้นมทางสายยางสู่การกินนมทางปากและน้ำหนักตัวen_US
dc.title.alternativeEffect of the Premature Infant Oral Motor Intervention on the Transition Time from Tube to Oral Feeding and Body Weighten_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/87147/87270

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-tipawan-2560.pdf
Size:
837.86 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections