Publication: Proliferative Myositis: A Comprehensive Review of 33 Case Reports
Issued Date
2019
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Anatomy Faculty of Science Mahidol University
Department of Pathology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Pathology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 42, No. 4 (Oct-Dec 2019), 60-70
Suggested Citation
Pannawat Trerattanavong, Chinnawut Suriyonplengsaeng, Jariya Waisayarat, ปัณณวัฒน์ ตรีรัตนวงศ์, ชินวุฒิ สุริยนเปล่งแสง, จริยา ไวศยารัทธ์ Proliferative Myositis: A Comprehensive Review of 33 Case Reports. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 42, No. 4 (Oct-Dec 2019), 60-70. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72909
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Proliferative Myositis: A Comprehensive Review of 33 Case Reports
Alternative Title(s)
โพรลิเฟอเรทีพมัยโอไซติส: การทบทวนวารสารการรายงานคนไข้ 33 ราย
Abstract
Proliferative myositis, a rare reactive intramuscular myofibroblastic proliferation, is not well recognized in clinical practice. It overgrows within a few weeks and expands the space between the muscle causing infiltrative-like border mimicking sarcoma. Knowledge of the natural history and pathology of proliferative myositis is essential in order to prevent misdiagnosis and unnecessary surgical resection. Thirty-three reported cases of proliferative myositis in PubMed and Web of Science databases from 2000 to 2018 had been reviewed with the main emphasis in clinical presentation, radiological and pathological findings, treatment, and prognosis. Both males (19 cases) and females (14 cases), predominantly the middle-aged and senior adults, were affected. Upper extremity and shoulder girdle were commonly involved. The chief complaint varied from either painful or painless mass. The traumatic injury was reported as a significant predisposing factor. The lesion typically proliferated and separated muscle bundle. Ultrasonography of the lesion revealed a characteristic “checkerboard pattern” on transverse view. The definite diagnosis was based on the demonstration of spindle-shaped fibroblast/myofibroblast admixed with giant ganglion-like cells in the biopsy. Immunohistochemistry may be useful diagnostic tool when the histopathology was inconclusive. Misdiagnosis of sarcoma occurred due to its rapid growth and infiltrative-like border. Watchful management without surgery was sufficient because of the potential for spontaneous regression. Thoroughly clinical examination and appropriate investigations, including imaging and histopathology, are crucial.
โพรลิเฟอเรทีพมัยโอไซติสเป็นโรคที่เกิดจากไฟโบรบลาสท์/ไมโอไฟโบรบลาสท์ แบ่งตัวเกิดเป็นก้อนในกล้ามเนื้อ พบได้น้อย หายได้เอง โตเร็วภายในสัปดาห์คล้ายมะเร็งซาร์โคมา จึงจัดเป็นเนื้องอกซาร์โคมาเทียม วัตถุประสงค์ของการทบทวนเพื่อป้องกันการวินิจฉัยโรคผิดเป็นมะเร็งและรักษาโดยผ่าตัดแบบกว้าง ผู้นิพนธ์สืบค้นรายงานคนไข้จำนวน 33 คน จากฐานข้อมูล PubMed และ Web of Science ปี พ.ศ. 2543 ถึง พ.ศ. 2561 โดยทบทวนอาการ ผลตรวจทางรังสีวิทยา พยาธิวิทยา การรักษาและพยากรณ์โรค พบทั้งผู้ป่วยชาย (19 คน) และผู้ป่วยหญิง (14 คน) ส่วนใหญ่เป็นวัยกลางคนจนถึงผู้สูงอายุ พบโรคมากที่กล้ามเนื้อไหล่และรยางค์ท่อนบน มีอาการทั้งแบบปวดและไม่ปวด มีรายงานพบการบาดเจ็บสัมพันธ์กับการเกิดโรค โรคมักแทรกเข้าในกล้ามเนื้อเกิดลักษณะคล้ายตารางหมากรุกเมื่อตรวจอัลตราซาวด์ คำวินิจฉัยที่แน่นอนขึ้นกับการตรวจทางพยาธิวิทยาพบเซลล์ 2 ชนิดดังกล่าว การตรวจทางอิมมูโนฮิสโตเคมีช่วยในการวินิจฉัยเมื่อพยาธิสภาพไม่ชัดเจน การวินิจฉัยผิดเป็นมะเร็งซาร์โคมาพึงระวังอย่างยิ่งเพราะโรคนี้โตเร็วและขอบไม่เรียบ การติดตามผู้ป่วยโดยไม่ต้องผ่าตัดเพียงพอต่อการรักษา การตรวจร่างกายร่วมกับการตรวจทางรังสีวิทยาและพยาธิวิทยาช่วยให้วินิจฉัยและรักษาโรคได้อย่างถูกต้อง
โพรลิเฟอเรทีพมัยโอไซติสเป็นโรคที่เกิดจากไฟโบรบลาสท์/ไมโอไฟโบรบลาสท์ แบ่งตัวเกิดเป็นก้อนในกล้ามเนื้อ พบได้น้อย หายได้เอง โตเร็วภายในสัปดาห์คล้ายมะเร็งซาร์โคมา จึงจัดเป็นเนื้องอกซาร์โคมาเทียม วัตถุประสงค์ของการทบทวนเพื่อป้องกันการวินิจฉัยโรคผิดเป็นมะเร็งและรักษาโดยผ่าตัดแบบกว้าง ผู้นิพนธ์สืบค้นรายงานคนไข้จำนวน 33 คน จากฐานข้อมูล PubMed และ Web of Science ปี พ.ศ. 2543 ถึง พ.ศ. 2561 โดยทบทวนอาการ ผลตรวจทางรังสีวิทยา พยาธิวิทยา การรักษาและพยากรณ์โรค พบทั้งผู้ป่วยชาย (19 คน) และผู้ป่วยหญิง (14 คน) ส่วนใหญ่เป็นวัยกลางคนจนถึงผู้สูงอายุ พบโรคมากที่กล้ามเนื้อไหล่และรยางค์ท่อนบน มีอาการทั้งแบบปวดและไม่ปวด มีรายงานพบการบาดเจ็บสัมพันธ์กับการเกิดโรค โรคมักแทรกเข้าในกล้ามเนื้อเกิดลักษณะคล้ายตารางหมากรุกเมื่อตรวจอัลตราซาวด์ คำวินิจฉัยที่แน่นอนขึ้นกับการตรวจทางพยาธิวิทยาพบเซลล์ 2 ชนิดดังกล่าว การตรวจทางอิมมูโนฮิสโตเคมีช่วยในการวินิจฉัยเมื่อพยาธิสภาพไม่ชัดเจน การวินิจฉัยผิดเป็นมะเร็งซาร์โคมาพึงระวังอย่างยิ่งเพราะโรคนี้โตเร็วและขอบไม่เรียบ การติดตามผู้ป่วยโดยไม่ต้องผ่าตัดเพียงพอต่อการรักษา การตรวจร่างกายร่วมกับการตรวจทางรังสีวิทยาและพยาธิวิทยาช่วยให้วินิจฉัยและรักษาโรคได้อย่างถูกต้อง
Keyword(s)
Proliferative myositis
Pseudosarcomatous tumor
Spindle-like fibroblast/myofibroblast
Giant ganglion-like cell
Immunohistochemistry
โพรลิเฟอเรทีพมัยโอไซติส
เนื้องอกชนิดซาร์โคมาเทียม
เซลล์ไฟโบรบลาสท์/ ไมโอไฟโบรบลาสท์ซึ่งมีรูปร่างคล้ายกระสวย
เซลล์ขนาดใหญ่ที่มีลักษณะคล้ายเซลล์ประสาท
การตรวจทางอิมมูโนฮิสโตเคมี
Pseudosarcomatous tumor
Spindle-like fibroblast/myofibroblast
Giant ganglion-like cell
Immunohistochemistry
โพรลิเฟอเรทีพมัยโอไซติส
เนื้องอกชนิดซาร์โคมาเทียม
เซลล์ไฟโบรบลาสท์/ ไมโอไฟโบรบลาสท์ซึ่งมีรูปร่างคล้ายกระสวย
เซลล์ขนาดใหญ่ที่มีลักษณะคล้ายเซลล์ประสาท
การตรวจทางอิมมูโนฮิสโตเคมี