Publication:
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จังหวัดกาญจนบุรี

dc.contributor.authorนวพรรณ จิณแพทย์en_US
dc.contributor.authorสุปรียา ตันสกุลen_US
dc.contributor.authorนิรัตน์ อิมามีen_US
dc.contributor.authorมณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2022-05-21T03:08:12Z
dc.date.available2022-05-21T03:08:12Z
dc.date.created2565-05-21
dc.date.issued2551
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional survey) มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี โดยประยุกต์ใช้แบบ จำลองพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์เป็นกรอบแนวคิด กลุ่มตัวอย่างคือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม ด้วยตนเอง สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์และสถิติสัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร้อยละ 77.5 มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับต่ำ พฤติกรรมในมิติย่อยของการส่งเสริมสุขภาพด้านการรับประทานอาหารอยู่ในระดับต่ำร้อยละ 82.3 พฤติกรรมการออกกำลังกายอยู่ในระดับต่ำร้อยละ 46.3 ส่วนพฤติกรรมการไม่สูบบุหรี่ กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 96.8 ไม่สูบบุหรี่ พฤติกรรมการไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 85.3 ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ พฤติกรรมการผ่อนคลายความเครียดกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 59.0 มีความ เครียดแต่นานๆ ครั้ง และพฤติกรรมการตรวจสุขภาพประจำปีกลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดร้อยละ 93.5 ตรวจสุขภาพ ตัวแปรอายุ การรับรู้ประโยชน์ในการปฏิบัติตน การรับรู้ความสามารถในการปฏิบัติตน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ส่วนดัชนีมวลกาย การรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตัวแปรเพศ สถานภาพการสมรส สถานภาพการรับราชการ กลุ่มวิชาชีพ ไม่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ดังนั้นในการกำหนดนโยบาย กลยุทธ์ และกลวิธีในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาพฤติกรรมส่งเสริม สุขภาพ ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี ควรทำทั้งระดับองค์กร เชิงนโยบาย ระดับ หน่วยงานและระดับบุคคล โดยมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและจริงจังen_US
dc.description.abstractThis research was a cross-sectional survey which aimed to study the health promoting behavior of public health personnel by applying Pender’s Health Promotion Model. The sample was compired of 400 public health personnel in Kanchanaburi Province. Data collection has been done by using self-administered questionnaires. The statistical measurements employed were frequency, arithmetic means, standard deviation, Chi-square test, and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The research results showed that 77.5 percent of the sampled public health personnel had low level of health promoting behavior. In regards to specific health promoting behavior, it was found that: 82.3 percent had low level of nutrition; 46.3 percent had low level of physical exercise; 96.8 percent did not smoke; 85.3 percent did not drink alcohol; 59.0 percent had stress once in a while; and almost all of the respondents (93.5%) had yearly physical check-ups. A positive relation was found between the health promoting behavior of the sampled public health personnel and the following factors: age, perceived benefits of performing health promoting behavior, and perceived self-efficacy to perform health promoting behavior. A negative relation was found between the health promoting behavior of public health personnel and the following factors: body mass index and perceived obstacles regarding performing health promoting behavior. No relationship was found between factors relating to sex, marital status, official status, professional groups and health promoting behavior of public health personnel. Thus, the determination of policy, strategies, and methods in implementing a program for promoting health promoting behavior of public health personnel in Kanchanaburi Province should be done at the organizational level regarding policy, the working-unit level, and individual level, by implementing activities continuously and seriously.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 31, ฉบับที่ 110 (ก.ย.- ธ.ค. 2551), 31-41en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64770
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectแบบจำลองพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์en_US
dc.titleพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จังหวัดกาญจนบุรีen_US
dc.title.alternativeHealth promoting behavior of public health personnelen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
si-ar-navaphan-2551.pdf
Size:
1.74 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections