Publication: The Effectiveness of COPD Management Program via Smartphone Applications on Clinical Status in Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease
dc.contributor.author | Jinsuta Tadsuan | en_US |
dc.contributor.author | Doungrut Wattanakitkrileart | en_US |
dc.contributor.author | Sarinrut Sriprasong | en_US |
dc.contributor.author | จิณห์สุตา ทัดสวน | en_US |
dc.contributor.author | ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ | en_US |
dc.contributor.author | ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Nursing | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-07-21T10:13:34Z | |
dc.date.available | 2021-07-21T10:13:34Z | |
dc.date.created | 2021-07-21 | |
dc.date.issued | 2021 | |
dc.description.abstract | Purpose: To study the effectiveness of COPD management program via smartphone applications on clinical status in patients with chronic obstructive pulmonary disease. Design: A randomized controlled trial. Methods: The participants were 60 patients with chronic obstructive pulmonary disease aged 40 years or over who visited the clinic at a tertiary level hospital in Kanchanaburi, Thailand. The participants were randomized into either the experimental group (n = 30) or the control group (n = 30) by a computer-generated random scheme. The control group received usual care, while the experimental group received both usual care and the 6-week COPD management program via LINE and calendar applications developed from the researchers based on the Information–Motivation–Behavioral Skills model. Clinical status was measured by the Clinical COPD questionnaire. Data was analyzed with descriptive statistics, independent sample t-test, and paired sample t-test. Main findings: The result revealed that the majority of the experimental group and the control group were male, 93.3% and 83.3%, respectively. The experimental group had the mean age of 64.63 years (SD = 10.28), and the control group had the mean age of 62.70 years (SD = 10.79). There were no significant differences in the mean scores of clinical status between both groups at baseline (p > .05). After receiving the program, the experimental group had significantly better clinical status than before receiving the program (p < .001), and better than that of the control group (p < .05). Conclusion and recommendations: The finding suggested that COPD management program can be used to improve patient’s clinical status. Nurses should use this program to provide health education, enhance motivation, improve inhaler skills, and promote medication adherence in patients with COPD. | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังผ่านสมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันต่อสถานะทางคลินิกในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังอายุ 40 ปีขึ้นไป จำนวน 60 รายที่เข้ารับการรักษาที่คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่างได้รับการสุ่มโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลปกติร่วมกับโปรแกรมการจัดการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังผ่านสมาร์ตโฟนแอปพลิเคชัน ซึ่งพัฒนาขึ้นจากกรอบแนวคิด Information–Motivation–Behavioral Skills model ระยะเวลาในการทดลอง 6 สัปดาห์ ประเมินผลสถานะทางคลินิกโดยใช้แบบสอบถามทางคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา การทดสอบทีแบบสองกลุ่มอิสระและแบบสองกลุ่มสัมพันธ์กัน ผลการวิจัย: ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 93.3 และร้อยละ 83.3 ตามลำดับ กลุ่มทดลองมีอายุเฉลี่ย 64.63 ปี กลุ่มควบคุมอายุเฉลี่ย 62.70 ปี ก่อนการทดลองกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีสถานะทางคลินิกไม่แตกต่างกัน (p > .05) หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีสถานะทางคลินิกดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: โปรแกรมการจัดการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังผ่านสมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีสถานะทางคลินิกที่ดีขึ้น พยาบาลควรนำโปรแกรมการจัดการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังผ่านสมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันมาใช้ในการให้ความรู้ เสริมแรงจูงใจ และส่งเสริมทักษะและความสม่ำเสมอในการใช้ยาสูดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง | en_US |
dc.identifier.citation | Nursing Science Journal of Thailand. Vol. 39, No. 3 (Jul - Sep 2021), 17-32 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62989 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Faculty of Nursing Mahidol University | en_US |
dc.subject | chronic obstructive pulmonary disease | en_US |
dc.subject | health status | en_US |
dc.subject | mobile applications | en_US |
dc.subject | ปอดอุดกั้นเรื้อรัง | en_US |
dc.subject | ภาวะสุขภาพ | en_US |
dc.subject | โมบายแอปพลิเคชัน | en_US |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Journal of Nursing Science | en_US |
dc.subject | Nursing Science Journal of Thailand | en_US |
dc.title | The Effectiveness of COPD Management Program via Smartphone Applications on Clinical Status in Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease | en_US |
dc.title.alternative | ประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังผ่านสมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันต่อสถานะทางคลินิกในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/247473 |