Publication:
The perceived transformation and transactional leadership styles among Tambon health promoting hospitals directors related to job satisfaction in Nakhonratchasima province, Thailand

dc.contributor.authorWaranyou Satayavongtipen_US
dc.contributor.authorAroonsri Mongkolchatien_US
dc.contributor.authorSupattra Srivanichakornen_US
dc.contributor.otherMahidol University. ASEAN Institute for Health Developmenten_US
dc.date.accessioned2017-06-29T09:20:10Z
dc.date.available2017-06-29T09:20:10Z
dc.date.created2017-06-28
dc.date.issued2016
dc.description.abstractTambon Health Promoting Hospitals (THPHs) are the first level of public health service system. Before the health service system reform, the THPHs confronted with inefficient management. Leadership and job satisfaction in THPHs have been developed and expanded responsibilities to conform health system reformation in Thailand. This research aimed to identify the perceived transformation and transactional leadership behaviors among THPHs directors associated with their jobs satisfaction. A cross-sectional survey was conducted in 32 district health offices which consisted 349 directors of sub-districts health offices. The sample of 267 directors was randomly selected from Tambon Health Promoting Hospitals of Nakhonratchasima province, Thailand. The self-administered questionnaires were used to collect data by the mail survey which enclosed self-addressed stamped envelopes. The response rate was 100%. The survey period was limited in 30 days during April to May in 2013. The questionnaires composed of 3 parts: socio-economic factors, district public health officer leadership behaviors and job satisfaction which obtained reliability of 0.989 and 0.975. Descriptive statistics, Chi-square test and multiple logistic regression were used to analyze the data. This study found that overall satisfaction of directors in Tambon Health Promoting Hospitals were moderate level. They were proud of their work and found that their work were challenging (mean score of motivating factor=2.38), although their working conditions were not fully supporting them (mean score of hygiene factor = 2.13). After adjusting for confounding factors, this study found that the strongest factors were monthly salary factor (Adj. OR=2.379, 95% CI=1.169-3.850) and the perceived overall leadership style of transformation and transactional leadership within the high level (Adj. OR=70.801, 95% CI=8.691–576.804) significantly associated to job satisfaction among Tambon Health Promoting Hospitals directors (p-value<0.05). The management for training directors in Tambon Health Promoting Hospitals or in district healthcare centers should be focused mainly on job satisfaction. This has to be provided to meet their sufficient salary and overtime payments, sufficient personnel, and modern and standard instruments. To develop human capital of district health promoting hospital administrators, the directors of THPHS should emphasis on leadership development especially in promoting inspiration and conditional rewards.en_US
dc.description.abstractโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล (รพสต.) เป็นหน่วยงานด่านแรกของการบริการสาธารณสุข ก่อนการปฏิรูประบบสุขภาพ พบว่าโรงพยาลาลส่งเสริมสุข ภาพระดบั ตำบล ได้เผชิญปัญหาด้านการบริหารจัดการ ภาวะผู้นำ และความพงึ พอใจในการปฏิบัตงานใน รพสต. ได้มีการพัฒนาและมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีการสอดรับกับการพัฒนาระบบบริการสุขภาพและการดำเนินการปฏิรูประบบสุขภาพ ของประเทศไทยการศึกษาครั้งนมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้นำแบบเปลื่ยนสภาพภาวะผู้นำแบบแลกเปลื่ยน และความพึงพอใจในการทำงานของผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นแบบภาพตัดขวาง โดยทำการศึกษาในประชากรกลุ่มผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล (รพสต.) จำนวน 32 ตำบล ของจังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทยผู้อำนวยการ รพสต. จำนวน 349 คนได้ถูกคัดเลือกเพื่อเป็นกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม อย่างง่าย ได้ตัวอย่างมาทั้งสิ้น จำนวน 267 คนการเก็บข้อมูลดำเนินการระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือนพฤษภาคม 2556กลุ่มตัวอย่างตอบ แบบสอบถามด้วยตนเอง และได้ส่งกลับมาทางไปรษณีย์ ซึ่งได้รับการตอบรับมา ร้อยละ 100 แบบสอบถามที่ได้ใช้ในการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ส่วนได้แก่ ส่วนที่ 1 คือปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจสังคมของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 คือพฤติกรรมด้านความพึงพอใจในการทำงาน ของกลุ่มตัวอย่าง และส่วนสุดท้าย คือการรับรู้ภาวะผู้นำของกลุ่มตัวอย่าง การทดสอบความเชื่อมั่นอยู่ที่ระดับ 0.989 และ 0.975 ตามลำดับ การศึกษาครั้งนี้พบว่า ผู้อำนวยการ รพสต. ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการทำงานระดับปานกลาง มีความภาคภูมิใจและ เห็นว่างานมีความท้าทาย (ค่าเฉลี่ยนระดับ=2.38) และเห็นว่างานที่ทำยังไม่ได้ดรับการสนันสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์มากนัก (ค่าเฉลี่ย=2.13) หลังจากการวิเคราะห์การถดถอยลอจิสติกพหุคูณ โดยได้มีการปรับด้วยปัจจัยที่เป็นปัจจัยกวนต่างๆ แล้วพบว่า ตัวแปรที่มีค่าความสัมพันธ์ สูงที่สุด ได้แก่ กลุ่มผู้อำนวยการรพสต. ที่มีระดับเงินเดือนต่ำกว่าค่าเฉลี่ย (29,610 บาท) มีความเสี่ยงสูงในการไม่มีความพึงพอใจในการ ทำงาน (Adj. OR=2.379, 95% CI=1.169-3.850) เมื่อเทียบกับกลุ่มที่มีรายได้สูงกว่าค่าเฉลี่ย (29,610 บาท) และพบว่า ในกลุ่มผู้อำนวยการ รพสต. ที่มี การรับรู้ภาวะผู้นำแบบเปลื่ยนสภาพและภาวะผู้นำแบบแลกเปลื่ยนในระดับ สูงมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการทำงานเมื่อ เทียบกับกลุ่มที่มีการรับรู้ต่ำ(Adj.OR=70.801, 95% CI=8.691–576.804) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) การศึกษาครั้งนี่บ่งชี้ว่า การอบรมหลักสูตรผู้บริหาร ในกลุ่มผู้อำนวยการ รพสต. มีความจำเป็นและควรมุ่งประเด็นการเพิ่มความพึง พอใจในการทำงาน โดยควรได้รับการสนับสนุนส่งเสริมค่าตอบแทนการทำงาน จำนวนพนักงาน เครื่องมือที่ทันสมัย และเห็นควรส่งเสริม ให้เกิดการรณรงค์การอบรมหรือส่งเสริมความรู้โดยเฉพาะกลุ่มผู้อำนวยการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบลในเรื่องภาวะผู้นำ การ สร้างแรงจูงใจในการทำงาน ตลอดจนการให้รางวัล เพื่อสร้างขวัยกำลังใจให้เกิดการพัฒนามากยิ่งขึ้น อีกทั้งควรได้ทำการศึกษาถึงสาเหตุ ที่แท้จริงในโอกาสต่อไปen_US
dc.identifier.citationJournal of Public Health and Development. Vol. 14, No.1 (Jan - Apr 2016), 37-52en_US
dc.identifier.issn1905-1387
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2418
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderASEAN Institute for Health Development Mahidol Universityen_US
dc.subjectTransformation and transactional leadership styleen_US
dc.subjectJob satisfactionen_US
dc.subjectTambon Health promoting hospitalsen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectJournal of Public Health and Developmenten_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาen_US
dc.titleThe perceived transformation and transactional leadership styles among Tambon health promoting hospitals directors related to job satisfaction in Nakhonratchasima province, Thailanden_US
dc.title.alternativeการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนสภาพภาวะผู้นำ แบบแลกเปลื่ยนและความพึง พอใจในการทำงานของผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพระดับตำบล จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทยen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ad-ar-aroonsri-2016-1.pdf
Size:
4.87 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections