Publication: Thalassemia and Hemoglobinopathies Screening by Osmotic Fragility (OF) and Dichlorophenol Indophenol Precipitation (DCIP) Tests Among Vocational Students in Ubon Ratchathani Province
Issued Date
2021
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Program of Applied Statistics Faculty of Science Ubon Ratchathani Rajabhat University
Program of Applied Statistics Faculty of Science Ubon Ratchathani Rajabhat University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 44, No. 2 (April-June 2021), 18-27
Suggested Citation
Rungnapa Munthreepak, Somsak Suthutvoravut, Jumlong Vongprasert, รุ่งนภา มุลตรีภักดิ์, สมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิ, จำลอง วงษ์ประเสริฐ Thalassemia and Hemoglobinopathies Screening by Osmotic Fragility (OF) and Dichlorophenol Indophenol Precipitation (DCIP) Tests Among Vocational Students in Ubon Ratchathani Province. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 44, No. 2 (April-June 2021), 18-27. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72209
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Thalassemia and Hemoglobinopathies Screening by Osmotic Fragility (OF) and Dichlorophenol Indophenol Precipitation (DCIP) Tests Among Vocational Students in Ubon Ratchathani Province
Abstract
Background: Thalassemia and hemoglobinopathies are the most common and clinically serious single gene disorders. Screening by osmotic fragility (OF) test and dichlorophenol indophenol precipitation (DCIP) test have been found to be effective and low-cost approaches to identify those who are carriers especially among young population.
Objective: To study the prevalence rates of abnormal of OF test and/or abnormal DCIP test among vocational students in Ubon Ratchathani province.
Methods: This cross-sectional research collected data from 311 students aged 15 to 19 years in a vocational school in Ubon Ratchathani, Thailand. OF and DCIP tests were done after participants signed consent to join the study. Knowledge and attitude towards thalassemia and thalassemia screening was obtained from self-administered questionnaires. Chi-square and Fisher exact tests were performed to examine the association between variables.
Results: Of 311 students, 124 (39.9%) students had abnormal OF test or DCIP test or both, 72 (23.2%) students had both DCIP and OF tests positive. The final diagnosis was that 75.8% had hemoglobin E, 21.8% and 2.4% were α-thalassemia and β-thalassemia carriers respectively. Approximately, 91.4% of them considered thalassemia screening useful and necessary for premarital screening.
Conclusions: High incidence of abnormal OF test and/or DCIP test was found among vocational students in Ubon Ratchathani province, showing a predominance of hemoglobin E. Most of them agreed that thalassemia screening is useful for adolescents to avoid marriage among carriers.
บทนำ: ธาลัสซีเมียและความผิดปกติของฮีโมโกลบินเป็นโรคเลือดทางพันธุกรรมจากยีนเดี่ยวที่ร้ายแรงและพบบ่อยที่สุด การตรวจกรองโดยวิธี Osmotic fragility (OF) และวิธี Dichlorophenol indophenol precipitation (DCIP) พบว่ามีประสิทธิภาพสูงในการค้นหาผู้ที่เป็นพาหะและราคาไม่แพง เหมาะสำหรับการคัดกรองในวัยรุ่น วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของความผิดปกติที่พบจากการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียโดยวิธี OF และ DCIP ในนักเรียนโรงเรียนอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี วิธีการศึกษา: การศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางของข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างนักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย จำนวน 311 คน อายุ 18 ถึง 19 ปี ได้รับการตรวจเลือดโดยวิธี OF และ DCIP และตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับความรู้และทัศนคติต่อโรคธาลัสซีเมียและการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรใช้สถิติ Chi-square test และ Fisher exact test ผลการศึกษา: จากกลุ่มตัวอย่างนักเรียน จำนวน 311 คน พบว่า นักเรียน 124 คน (ร้อยละ 39.9) มีผลตรวจ OF หรือ DCIP หรือทั้ง 2 อย่างผิดปกติ และนักเรียน 72 คน (ร้อยละ 23.2) มีผลผิดปกติทั้ง 2 อย่าง ผลการวินิจฉัยสุดท้ายพบว่า นักเรียนร้อยละ 75.8 เป็นฮีโมโกลบินอี ร้อยละ 21.8 เป็นพาหะแอลฟ่าธาลัสซีเมีย และร้อยละ 2.4 เป็นพาหะเบต้าธาลัสซีเมีย โดยกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 91.4 มีความเห็นว่าการตรวจคัดกรองมีประโยชน์ที่จะนำไปตรวจคัดกรองก่อนสมรส สรุป: การตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียโดยวิธี OF และวิธี DCIP ในนักเรียนอาชีวศึกษาพบว่ามีความผิดปกติสูง ส่วนใหญ่เป็นฮีโมโกลบินอี และนักเรียนส่วนใหญ่เห็นว่าการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียมีประโยชน์สามารถนำไปใช้ในการเลือกคู่ครองเพื่อหลีกเลี่ยงการแต่งงานระหว่างคนที่เป็นพาหะธาลัสซีเมีย
บทนำ: ธาลัสซีเมียและความผิดปกติของฮีโมโกลบินเป็นโรคเลือดทางพันธุกรรมจากยีนเดี่ยวที่ร้ายแรงและพบบ่อยที่สุด การตรวจกรองโดยวิธี Osmotic fragility (OF) และวิธี Dichlorophenol indophenol precipitation (DCIP) พบว่ามีประสิทธิภาพสูงในการค้นหาผู้ที่เป็นพาหะและราคาไม่แพง เหมาะสำหรับการคัดกรองในวัยรุ่น วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของความผิดปกติที่พบจากการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียโดยวิธี OF และ DCIP ในนักเรียนโรงเรียนอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี วิธีการศึกษา: การศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางของข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างนักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย จำนวน 311 คน อายุ 18 ถึง 19 ปี ได้รับการตรวจเลือดโดยวิธี OF และ DCIP และตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับความรู้และทัศนคติต่อโรคธาลัสซีเมียและการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรใช้สถิติ Chi-square test และ Fisher exact test ผลการศึกษา: จากกลุ่มตัวอย่างนักเรียน จำนวน 311 คน พบว่า นักเรียน 124 คน (ร้อยละ 39.9) มีผลตรวจ OF หรือ DCIP หรือทั้ง 2 อย่างผิดปกติ และนักเรียน 72 คน (ร้อยละ 23.2) มีผลผิดปกติทั้ง 2 อย่าง ผลการวินิจฉัยสุดท้ายพบว่า นักเรียนร้อยละ 75.8 เป็นฮีโมโกลบินอี ร้อยละ 21.8 เป็นพาหะแอลฟ่าธาลัสซีเมีย และร้อยละ 2.4 เป็นพาหะเบต้าธาลัสซีเมีย โดยกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 91.4 มีความเห็นว่าการตรวจคัดกรองมีประโยชน์ที่จะนำไปตรวจคัดกรองก่อนสมรส สรุป: การตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียโดยวิธี OF และวิธี DCIP ในนักเรียนอาชีวศึกษาพบว่ามีความผิดปกติสูง ส่วนใหญ่เป็นฮีโมโกลบินอี และนักเรียนส่วนใหญ่เห็นว่าการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียมีประโยชน์สามารถนำไปใช้ในการเลือกคู่ครองเพื่อหลีกเลี่ยงการแต่งงานระหว่างคนที่เป็นพาหะธาลัสซีเมีย