Publication: Cigarette Plain Packaging Perceptions on Intent to Abstain from Smoking among Thai Female Youth
Issued Date
2019
Resource Type
Language
eng
ISSN
2697-584X (Print)
2697-5866 (Online)
2697-5866 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Public Health Nursing Faculty of Public Health Mahidol University
Department of Epidemiology Faculty of Public Health Mahidol University
Department of Biostatistics Faculty of Public Health Mahidol University
Department of Health Education and Behavioral Sciences Faculty of Public Health Mahidol University
Department of Public Health Administration Faculty of Public Health Mahidol University
Department of Epidemiology Faculty of Public Health Mahidol University
Department of Biostatistics Faculty of Public Health Mahidol University
Department of Health Education and Behavioral Sciences Faculty of Public Health Mahidol University
Department of Public Health Administration Faculty of Public Health Mahidol University
Bibliographic Citation
Thai Journal of Public Health. Vol. 49, No. 2 (May-August 2019), 155-169
Suggested Citation
Narumon Auemaneekul, Dusit Sujirarat, Pimpan Silpasuwan, Pratana Satitvipawee, Chukiat Viwatwongkasem, Malinee Sompopcharoen, Nithat Sirichotiratana, นฤมล เอื้อมณีกูล, ดุสิต สุจิรารัตน์, พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ, ปรารถนา สถิตย์วิภาวี, ชูเกียรติ วิวัฒน์วงศ์เกษม, มลินี สมภพเจริญ, นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์ Cigarette Plain Packaging Perceptions on Intent to Abstain from Smoking among Thai Female Youth. Thai Journal of Public Health. Vol. 49, No. 2 (May-August 2019), 155-169. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63675
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Cigarette Plain Packaging Perceptions on Intent to Abstain from Smoking among Thai Female Youth
Alternative Title(s)
การรับรู้ฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่แบบเรียบต่อความตั้งใจในการไม่สูบบุหรี่ ของวัยรุ่นหญิงไทย
Other Contributor(s)
Mahidol University. Faculty of Public Health. Department of Public Health Nursing
Mahidol University. Faculty of Public Health. Department of Epidemiology
Mahidol University. Faculty of Public Health. Department of Biostatistics
Mahidol University. Faculty of Public Health. Department of Health Education and Behavioral Sciences
Mahidol University. Faculty of Public Health. Department of Public Health Administration
Mahidol University. Faculty of Public Health. Department of Epidemiology
Mahidol University. Faculty of Public Health. Department of Biostatistics
Mahidol University. Faculty of Public Health. Department of Health Education and Behavioral Sciences
Mahidol University. Faculty of Public Health. Department of Public Health Administration
Abstract
This study examined the etiological model of cigarette plain packaging perception on intention to abstain from smoking among Thai female youth. The tested hypothesis proposed that the constructs of perception on plain packaging, perceivedsusceptibility and severity of smoking consequencesand fear arousal from salient health warnings will predict intent to abstain from smoking. Structural equation modeling (SEM) was used to analyze the data and variables were assessed using self-report questionnaires. Multistage stratified random samplingwas used to select subjects from both high schools and vocational schools in Bangkok. Random samplingof 15- to 24-year-old females was used to recruit a total of 438 subjects. The sample size included nonsmokers (86.3%), former smokers (5.48%) and smokers (8.22%). The SEM showed a good fit to the data (χ2= 1.060, df=2, P-value=0.589, CFI=0.999, TLI=0.999 and RMSEA<0.001, SRMR=0.005). In the SEM showed that smokers and former smoker had significantly negative associations with intent to abstain (β=-0.49 and-0.087, p<0.001 and 0.026) whileperceived severity and fear appeal were significantlypositive association with intent to abstain (β=0.237 and 0.124, p<0.001 and 0.003). Nonetheless, SEM revealed that the effect of perception on plain packaging, perceived severity and age of smoker and former smoker subjects on intent to abstain was partly mediated by fear arousal from salient health warnings. In addition, the effect of smokers on intent to abstain was also partly mediated by perceived severity.This information could be useful in designing interventions to promote abstinence from smoking among female youth and advocating and implementing the plain packaging policy in Thailand
การศึกษาทดสอบรูปแบบเชิงสาเหตุของการรับรู้ ฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่แบบเรียบต่อความตั้งใจ ไม่สูบของวัยรุ่นหญิงไทย สมมุติฐานคือการรับรู้ฉลาก คำเตือนการรับรู้ความเสี่ยงและความรุนแรง รวมถึง ความกลัวจากภาพคำเตือนสามารถทำนายความตั้งใจ ไม่สูบได้ ใช้สถิติ Structural Equation Modeling วิเคราะห์ เก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่าง แบบชั้นภูมิจากโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายและ อาชีวศึกษาในกรุงเทพ อายุ 15-24 ปี จำนวน 438 คน ไม่สูบ 86.3% เคยสูบ 5.48% และผู้สูบปัจจุบัน 8.22% ผลการวิเคราะห์โมเดลมีความเหมาะสมสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยให้ค่า χ2= 1.060, df=2, p=0.589, CFI=0.999, TLI=0.999 และ RMSEA<0.001, SRMR=0.005 โดยคนที่สูบและคนที่เคยสูบมีความ สัมพันธ์เชิงลบต่อความตั้งใจไม่สูบ (β=0.237 และ 0.124, p<0.001 และ 0.003) การรับรู้ความรุนแรง และความกลัวมีความสัมพันธ์ทางบวกต่อความตั้งใจ ไม่สูบ (β=0.237 และ 0.124, p<0.001 และ 0.003) อย่างไรก็ตามการรับรู้ฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ แบบเรียบ การรับรู้ความรุนแรง อายุของคนสูบและ คนเคยสูบต่อความตั้งใจไม่สูบจะผ่านตัวแปรความกลัว จากภาพคำเตือนบนซองบุหรี่แบบเรียบ นอกจากนี้ ผู้สูบกับความตั้งใจไม่สูบส่วนหนึ่งตัวแปรการรับรู้ ความเสี่ยง ผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ในการออกแบบ กิจกรรมส่งเสริมการไม่สูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิงและใช้ ผลักดันนโยบายซองบุหรี่แบบเรียบสำหรับไทย
การศึกษาทดสอบรูปแบบเชิงสาเหตุของการรับรู้ ฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่แบบเรียบต่อความตั้งใจ ไม่สูบของวัยรุ่นหญิงไทย สมมุติฐานคือการรับรู้ฉลาก คำเตือนการรับรู้ความเสี่ยงและความรุนแรง รวมถึง ความกลัวจากภาพคำเตือนสามารถทำนายความตั้งใจ ไม่สูบได้ ใช้สถิติ Structural Equation Modeling วิเคราะห์ เก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่าง แบบชั้นภูมิจากโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายและ อาชีวศึกษาในกรุงเทพ อายุ 15-24 ปี จำนวน 438 คน ไม่สูบ 86.3% เคยสูบ 5.48% และผู้สูบปัจจุบัน 8.22% ผลการวิเคราะห์โมเดลมีความเหมาะสมสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยให้ค่า χ2= 1.060, df=2, p=0.589, CFI=0.999, TLI=0.999 และ RMSEA<0.001, SRMR=0.005 โดยคนที่สูบและคนที่เคยสูบมีความ สัมพันธ์เชิงลบต่อความตั้งใจไม่สูบ (β=0.237 และ 0.124, p<0.001 และ 0.003) การรับรู้ความรุนแรง และความกลัวมีความสัมพันธ์ทางบวกต่อความตั้งใจ ไม่สูบ (β=0.237 และ 0.124, p<0.001 และ 0.003) อย่างไรก็ตามการรับรู้ฉลากคำเตือนบนซองบุหรี่ แบบเรียบ การรับรู้ความรุนแรง อายุของคนสูบและ คนเคยสูบต่อความตั้งใจไม่สูบจะผ่านตัวแปรความกลัว จากภาพคำเตือนบนซองบุหรี่แบบเรียบ นอกจากนี้ ผู้สูบกับความตั้งใจไม่สูบส่วนหนึ่งตัวแปรการรับรู้ ความเสี่ยง ผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ในการออกแบบ กิจกรรมส่งเสริมการไม่สูบบุหรี่ในวัยรุ่นหญิงและใช้ ผลักดันนโยบายซองบุหรี่แบบเรียบสำหรับไทย