Publication: สภาวะความพิการของเด็กวัยเรียนในประเทศไทย
Issued Date
2548
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 1, ฉบับที่ 1 (2548) 21-32
Suggested Citation
พิมพา ขจรธรรม สภาวะความพิการของเด็กวัยเรียนในประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 1, ฉบับที่ 1 (2548) 21-32. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1268
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
สภาวะความพิการของเด็กวัยเรียนในประเทศไทย
Alternative Title(s)
Disability situation among Thai school-age
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับความพิการของเด็กวัยเรียนในประเทศไทย ข้อมูลที่นำมา
วิเคราะห์เป็นข้อมูลทุติยภูมิที่ได้จากการสำรวจความพิการและภาวะทุพพลภาพ พ.ศ. 2545 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติซึ่งเป็น
การสำรวจครัวเรือนทั่วประเทศ การศึกษานี้เลือกทำการวิเคราะห์เฉพาะประชากรที่มีอายุระหว่าง 5–14 ปี โดยมีคำนิยามว่าคน
พิการ หมายถึง ผู้ที่รายงานว่ามีความลำบากหรือมีปัญหาในการทำกิจวัตรหลัก ซึ่งในที่นี้หมายถึง การเรียนหนังสือ เนื่องจากมี
ปัญหาทางสุขภาพหรือความเจ็บป่วยเรื้อรังที่เป็นต่อเนื่องมาตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไปหรือมีความผิดปกติหรือบกพร่องของร่างกาย
สติปัญญา หรือจิตใจ ผลการศึกษาพบว่าอัตราความพิการของประชากรวัยเด็กประมาณ ร้อยละ 4.4 โดยเด็กผู้ชายมีความพิการ
มากกว่าเด็กผู้หญิง (ร้อยละ 4.7 และ 4.0 ตามลำดับ) ส่วนใหญ่มีความพิการเพียง 1 ลักษณะ ประเภทความพิการที่พบมากที่สุด
คือ ความพิการทางสติปัญญาหรือการเรียนรู้ และความพิการทางการได้ยินหรือการสื่อความหมาย (ร้อยละ 1.37 และ 1.32
ตามลำดับ) ซึ่งอัตราความพิการที่พบในการศึกษานี้สูงกว่าผลจากการสำรวจความพิการที่ผ่าน ๆ มาของประเทศไทย แต่
สอดคล้องกับอัตราคนพิการของหลายประเทศ เนื่องจากคำนิยามที่ใช้ในการศึกษานี้ใช้แนวคิดเรื่อง “Disability” การศึกษานี้มี
ข้อจำกัดเนื่องจากข้อคำถามเกี่ยวกับความสามารถในการประกอบกิจวัตรหลักต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันยังไม่ครอบคลุม และ
ขาดคำถามที่เกี่ยวกับระดับความรุนแรงของปัญหา อุปกรณ์หรือเครื่องช่วยคนพิการ จึงทำให้ไม่สามารถวิเคราะห์ระดับความ
รุนแรงของความพิการได้
The aim of this study was to delineate the disability situation among Thai children aged 5 – 14 years by using secondary data from The 2002 Disability Survey conducted by the National Statistical Office of Thailand. Children with disability was defined as those who reported having difficulty in performing major activity considered normal for this age group, schooling, because of chronic condition or impairment which has lasted for 6 months or over. The result revealed that 4.4 percent of children in this age group have difficulty in schooling. Boys had more difficulty than girls (4.7% compared to 4.0%). The majority of children with disability have only one type of disability. Intellectual disability was the most prevalence among school- age children followed by communication disability (1.37% and 1.32% respectively). Prevalence of disability in this study was higher than other studied due to difference in concept used to define population with disability. The limitation of this study was attributed to unavailable of data concerning other kinds of problem and severity of the difficulty.
The aim of this study was to delineate the disability situation among Thai children aged 5 – 14 years by using secondary data from The 2002 Disability Survey conducted by the National Statistical Office of Thailand. Children with disability was defined as those who reported having difficulty in performing major activity considered normal for this age group, schooling, because of chronic condition or impairment which has lasted for 6 months or over. The result revealed that 4.4 percent of children in this age group have difficulty in schooling. Boys had more difficulty than girls (4.7% compared to 4.0%). The majority of children with disability have only one type of disability. Intellectual disability was the most prevalence among school- age children followed by communication disability (1.37% and 1.32% respectively). Prevalence of disability in this study was higher than other studied due to difference in concept used to define population with disability. The limitation of this study was attributed to unavailable of data concerning other kinds of problem and severity of the difficulty.