Publication: Correlation Between Posterior/Anterior Urethral Ratio from Voidingcystourethrography and Prognosis of Posterior Urethral Vales
Issued Date
2016
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of surgery Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Radiology Yala Hospital
Department of Diagnostic and Therapeutic Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Radiology Yala Hospital
Department of Diagnostic and Therapeutic Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 1 (Jan-Mar 2016), 62-71
Suggested Citation
Pokket Sirisreetreerux, Pocharapong Jenjitranant, Chinnarat Hongyok, Ratanaporn Pornkul, Wit Viseshsindh, ปกเกศ ศิริศรีตรีรักษ์, พชรพงศ์ เจนจิตรานันท์, ชินรัตน์ หงษ์หยก, รัตนพร พรกุล, วิทย์ วิเศษสินธุ์ Correlation Between Posterior/Anterior Urethral Ratio from Voidingcystourethrography and Prognosis of Posterior Urethral Vales. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 1 (Jan-Mar 2016), 62-71. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79599
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Correlation Between Posterior/Anterior Urethral Ratio from Voidingcystourethrography and Prognosis of Posterior Urethral Vales
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากเอกซเรย์ฉีดรังสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะและการพยากรณ์โรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลัง
Abstract
Purpose: To determine the correlation between the posterior/anterior urethral caliber ratio and the renal and bladder function after definite rreatment for posterior urethral valves (PUV). and to evaluate the prognostic variables affecting the renal function in the patients with PUV.
Material and Method: We retrospectively reviewed the medical records and voiding cystourethrography (VCUG) of the patients who were diagnosed as having PUV from January 2004 to June 2013. The Posterior/anterior urethral caliber ratio was measured from VCUG at diagnosis and the data including age at diagnosis, clinical presentation of the disease, degree of vesicoureteral reflux (VUR), temporary urinary diversion type, renal function at diagnosis, the best renal function after temporary urinary diversion and at the latest visit were collected.
Results: Of 20 patients, mean±SD of age at dianosis was 22.6±28.4 months (range 0.03-84 monts). Mean±SD of posterior/anterior urethral caliber ratio at the time of diagnosis was 3.4±1.64 (range 1.3-6.4). Mean±SD of glomerrular filtration rate (GFR) at diagnosis and at the latest visit were 39.5±39.7 ml/min/1.73m2 and 87.7±50.3 ml/min/1.73 m2 , respectively. VUR was found in 27 renal units. Valve bladder syndrome (VBS) was diagnosed in 13 patients (68%). No correlation was found between the posterior/anterior urethral caliber ratio and renal function at various time, and also between the uretharll ratio and VBS. Only GFR nadir after diversion was related to the outcome of renal function.
Conclusion: Although the posterior/anterior urethral caliber ratio was not correlated with the renal function and bladder fuction after treatment of PUV, the significant factors that could predict the renal function after treatment was serum GFR after temporary urinary diversion.
วัตถุประสงค์: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากเอกซเรย์ฉีดสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะและการพยากรณ์โรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลังหลังการรักษาโดยผ่าตัดส่องกล้องทำลายลิ้นอุดกั้น โดยประเมินการพยากรณ์โรคในด้านการทำงานของไตและการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ นอกจากนี้ยังศึกษาถึงปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลต่อการทำงานของไตอีกด้วย วัสดุและวิธีการ: ศึกษาเวชระเบียนและภาพเอกซเรย์ฉีดสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยยืนยันว่าเป็นโรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลัง ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2547 จนถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 โดยวัดอัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากภาพเอกซเรย์ และเก็บข้อมูลการทำงานของไตตั้งแต่เริ่มวินิจฉัย หลังการระบายปัสสาวะชั่วคราวในเบื้องต้นและหลังการรักษาโดยผ่าตัดส่องกล้องทำลายลิ้นอุดกั้นแล้วคำนวณหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน ผลการศึกษา: ในผู้ป่วยโรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลัง จำนวน 20 ราย พบว่า ค่าเฉลี่ยของอายุที่ได้รับการวินิจฉัยคือ 22.6 เดือน ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากเอกซเรย์ฉีดสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ คือ 3.4 ค่าเฉลี่ยการทำงานของไต เมื่อวินิจฉัยโรคและหลังผ่าตัดรักษา ได้แก่ 39.5 และ 87.7 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตร ตามลำดับ ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากเอกซเรย์ฉีดสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะและการพยากรณ์โรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลังทั้งในแง่การทำงานของไตและการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ สรุป: อัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากเอกซเรย์ฉีดสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะไม่สัมพันธ์กับการทำงานของไตและการทำงานของกระเพาะปัสสาวะหลังจากรักษาโรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลัง ส่วนปัจจัยที่สามารถพยากรณ์การทำงานของไตหลังการรักษาได้ ได้แก่ GFR หลังการระบายปัสสาวะชั่วคราวในเบื้องต้น
วัตถุประสงค์: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากเอกซเรย์ฉีดสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะและการพยากรณ์โรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลังหลังการรักษาโดยผ่าตัดส่องกล้องทำลายลิ้นอุดกั้น โดยประเมินการพยากรณ์โรคในด้านการทำงานของไตและการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ นอกจากนี้ยังศึกษาถึงปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลต่อการทำงานของไตอีกด้วย วัสดุและวิธีการ: ศึกษาเวชระเบียนและภาพเอกซเรย์ฉีดสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยยืนยันว่าเป็นโรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลัง ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2547 จนถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 โดยวัดอัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากภาพเอกซเรย์ และเก็บข้อมูลการทำงานของไตตั้งแต่เริ่มวินิจฉัย หลังการระบายปัสสาวะชั่วคราวในเบื้องต้นและหลังการรักษาโดยผ่าตัดส่องกล้องทำลายลิ้นอุดกั้นแล้วคำนวณหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน ผลการศึกษา: ในผู้ป่วยโรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลัง จำนวน 20 ราย พบว่า ค่าเฉลี่ยของอายุที่ได้รับการวินิจฉัยคือ 22.6 เดือน ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากเอกซเรย์ฉีดสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ คือ 3.4 ค่าเฉลี่ยการทำงานของไต เมื่อวินิจฉัยโรคและหลังผ่าตัดรักษา ได้แก่ 39.5 และ 87.7 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตร ตามลำดับ ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากเอกซเรย์ฉีดสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะและการพยากรณ์โรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลังทั้งในแง่การทำงานของไตและการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ สรุป: อัตราส่วนความกว้างของท่อปัสสาวะส่วนหลังต่อท่อปัสสาวะส่วนหน้าจากเอกซเรย์ฉีดสีกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะไม่สัมพันธ์กับการทำงานของไตและการทำงานของกระเพาะปัสสาวะหลังจากรักษาโรคลิ้นอุดกั้นท่อปัสสาวะส่วนหลัง ส่วนปัจจัยที่สามารถพยากรณ์การทำงานของไตหลังการรักษาได้ ได้แก่ GFR หลังการระบายปัสสาวะชั่วคราวในเบื้องต้น