Publication: ผลของโปรแกรมกระตุ้นน้ำนมต่อปริมาณน้ำนมและระยะเวลาที่มารดามีน้ำนมเพียงพอสําหรับทารกในมารดาทารกเกิดก่อนกําหนดที่ผ่าตัดคลอด
Issued Date
2561
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 3 (ก.ค. - ก.ย. 2561), 71-82
Suggested Citation
กนกพร เอื้ออารีย์กุล, Kanokporn Auaareekul, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม, Parnnarat Sangperm, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, Sudaporn Payakkaraung ผลของโปรแกรมกระตุ้นน้ำนมต่อปริมาณน้ำนมและระยะเวลาที่มารดามีน้ำนมเพียงพอสําหรับทารกในมารดาทารกเกิดก่อนกําหนดที่ผ่าตัดคลอด. วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 3 (ก.ค. - ก.ย. 2561), 71-82. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44207
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลของโปรแกรมกระตุ้นน้ำนมต่อปริมาณน้ำนมและระยะเวลาที่มารดามีน้ำนมเพียงพอสําหรับทารกในมารดาทารกเกิดก่อนกําหนดที่ผ่าตัดคลอด
Alternative Title(s)
The Effects of a Breast Milk Establishing Program on Milk Volume and Time of Sufficient Milk Supply among Cesarean Section Mothers of Premature Infants
Other Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกระตุ้นน้ำนมต่อปริมาณน้ำนม และจํานวนวันหลังคลอดที่มีน้ำนมเพียงพอในมารดาของทารกเกิดก่อนกําหนดที่ผ่าตัดคลอด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกตามความสะดวก จากผู้ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กําหนด จํานวน 28 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 15 ราย กลุ่มทดลอง 13 ราย โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมกระตุ้นน้ำนมในมารดาของทารกเกิดก่อนกําหนดที่ผ่าตัดคลอด ซึ่งประกอบด้วย การให้ข้อมูลเกี่ยวกับทารก การให้ความรู้เกี่ยวกับการกระตุ้นน้ำนมการประคบเต้านม การนวดเต้านม และการบีบเก็บน้ำนม เมื่อสิ้นสุดการศึกษา ได้วิเคราะห์ความแตกต่างของปริมาณน้ำนมในวันที่ 4 และ 10 หลังคลอดของมารดาทั้งสองกลุ่มด้วยสถิติ t-test และวิเคราะห์ความแตกต่างของจํานวนวันหลังคลอดที่มารดามีปริมาณน้ำนมเพียงพอกับความต้องการของทารกเป็นวันแรก ด้วยสถิติ t-test ผลการวิจัย:การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงปริมาณน้ำนมเฉลี่ยในวันที่ 4 หลังคลอด ในกลุ่มทดลองเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกัน (70.39±57.29 มิลลิลิตร และ 79.52±84.10 มิลลิลิตร, p = .36) ปริมาณน้ำนมเฉลี่ยในวันที่ 10 หลังคลอด ในกลุ่มทดลองเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน (360.76± 191.00 มิลลิลิตร และ266.06±191.15 มิลลิลิตร, p = .101) และจํานวนวันเฉลี่ยที่มารดามีปริมาณน้ำนมเพียงพอต่อความต้องการของทารกเป็นวันแรกในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน (5.6±1.6 วัน และ 5.3±1.8 วัน, p = .296)สรุปและข้อเสนอแนะ: ถึงแม้ว่าผลการวิจัยครั้งนี้จะไม่พบความแตกต่างกันในเชิงสถิติ แต่โปรแกรมกระตุ้นน้ำนมนี้จะมีส่วนช่วยให้มารดาของทารกเกิดก่อนกําหนดที่ผ่าตัดคลอดมีการผลิตน้ำนม และคงไว้ซึ่งปริมาณน้ำนมที่เพียงพอสําหรับทารก พยาบาลควรนําโปรแกรมนี้มาปรับใช้และติดตามการบีบน้ำนมของมารดาให้สม่ำเสมอและต่อเนื่อง
Purpose: To evaluate the effects of a breast milk establishing program on breast milk volume and time of sufficient milk supply among cesarean section mothers of premature infants. Design: Quasi-experimental design. Methods: Twenty-eight participants were recruited by convenience sampling, with 15 participants in the control group and 13 participants in the experimental group. The experimental group received the lactation stimulation program consisting of giving information related to the infants, providing knowledge regarding the mechanism of milk synthesis, hot compress, breast massaging and breast milk expressing. Breast milk volume on Day 4 and Day 10 and the time to have sufficient milk were compared between groups using a t-test. Main findings: There were no statistical different in breast milk volume of the mothers in the experiment and the control groups at Day 4 (70.39 ± 57.29 VS 79.52 ± 84.10, p = .36) and Day 10 (360.76 ± 191.00 VS 266.06 ± 191.15, p = .101). The time to have sufficient milk was also not different between the study groups (5.6 ± 1.6 VS 5.3 ± 1.8, p = .296). Conclusion and recommendations: Although the results did not reveal a significant difference between groups, benefits of the establishing the breast milk program could help mothers with premature cesarean section to produce and maintain breast milk for their infants. Nurses should adjust this program and monitor the mothers for the regularity and continuity of their breast milk expression.
Purpose: To evaluate the effects of a breast milk establishing program on breast milk volume and time of sufficient milk supply among cesarean section mothers of premature infants. Design: Quasi-experimental design. Methods: Twenty-eight participants were recruited by convenience sampling, with 15 participants in the control group and 13 participants in the experimental group. The experimental group received the lactation stimulation program consisting of giving information related to the infants, providing knowledge regarding the mechanism of milk synthesis, hot compress, breast massaging and breast milk expressing. Breast milk volume on Day 4 and Day 10 and the time to have sufficient milk were compared between groups using a t-test. Main findings: There were no statistical different in breast milk volume of the mothers in the experiment and the control groups at Day 4 (70.39 ± 57.29 VS 79.52 ± 84.10, p = .36) and Day 10 (360.76 ± 191.00 VS 266.06 ± 191.15, p = .101). The time to have sufficient milk was also not different between the study groups (5.6 ± 1.6 VS 5.3 ± 1.8, p = .296). Conclusion and recommendations: Although the results did not reveal a significant difference between groups, benefits of the establishing the breast milk program could help mothers with premature cesarean section to produce and maintain breast milk for their infants. Nurses should adjust this program and monitor the mothers for the regularity and continuity of their breast milk expression.