Publication: สมดุลชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่ง
dc.contributor.author | พรพรรณ พิทักษา | en_US |
dc.contributor.author | นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์ | en_US |
dc.contributor.author | วิริญธิ์ กิตติพิชัย | en_US |
dc.contributor.author | สุมลชาติ ดวงบุบผา | en_US |
dc.contributor.author | Pohnpan Pitaksa | en_US |
dc.contributor.author | Nithat Sirichotiratana | en_US |
dc.contributor.author | Wirin Kittipichai | en_US |
dc.contributor.author | Sumonchat Duangbubpha | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-05-07T07:29:03Z | |
dc.date.available | 2021-05-07T07:29:03Z | |
dc.date.created | 2564-05-07 | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.description.abstract | คุณภาพชีวิตและสมดุลชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพเป็นประเด็นสำคัญในปัจจุบัน เนื่องจากอาจจะเป็นสาเหตุสำคัญสำหรับการขาดแคลนบุคลากรด้านพยาบาลวิชาชีพ การศึกษาวิจัยครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่ออธิบายระดับของสมดุลชีวิตกับการทำงานในกลุ่มพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาล มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่ง 2. เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยทาง สังคมและปัจจัยการทำงาน กับสมดุลชีวิตในการทำงานของพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับของ รัฐแห่งหนึ่ง 3. เพื่อหาปัจจัยพยากรณ์สมดุลชีวิตในการทำงานของพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับ ของรัฐแห่งหนึ่ง ระเบียบวิธีวิจัยของการศึกษานี้คือการวิจัยเชิงสำรวจ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ใน กลุ่มพยาบาลวิชาชีพจำนวน 342 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าแจกแจง ความถี่ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์ สัน และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่งส่วนใหญ่มี ระดับสมดุลชีวิตในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง(ร้อยละ 56.40) ปัจจัยทางสังคม (การได้รับการสนับสนุน จากครอบครัว) ปัจจัยด้านการทำงาน (การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน,ความเครียด และภาระงาน) มีความสัมพันธ์กับสมดุลชีวิตในการทำงาน ส่วนการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว การได้รับการสนับสนุน จากเพื่อนร่วมงานและความเครียดเป็นปัจจัยพยากรณ์สมดุลชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่งใช้พยากรณ์สมดุลชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่งได้ร้อยละ 43.7 | en_US |
dc.description.abstract | Nursing professional’s quality of life and work-life balance is an important issue at present, since it may be an important cause of nursing professional shortage. This study’s objectives were: (1) To explain the level of nursing professional’s work-life balance; (2) To explain the relationship between the following factors, demographic, social, occupational, and nursing professional’ s work- life balance; and ( 3) To determine factors predicting nursing professional’s work-life balance, in an autonomous university hospital. This study was a survey research, employing self-administered questionnaire as a data collection instrument, for the sample of 342 nurses. Data analysis used in this study were as followed: descriptive analysis such as percentage, frequency, average and standard deviation; inferential statistics such as Pearson’s Correlation and Multiple Regression. Results indicated that more than half of nursing professional in an autonomous university hospital (sample) had a medium level of work-life balance (56.4 %). There were association between social factor (family support), occupational factors (colleagues’ support, strain and work load) and work-life balance. Social factor (family support) and occupational factors (colleague support, and strain) were the factors predicting work-life balance, for 43.7%. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารกฎหมายสุขภาพและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 6, ฉบับเพิ่มเติม (ก.ค.-ธ.ค. 2563), S83-S94 | en_US |
dc.identifier.issn | 2697-6285 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62077 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | สมดุลชีวิตในการทำงาน | en_US |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ | en_US |
dc.subject | โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ | en_US |
dc.subject | work-life balance | en_US |
dc.subject | nursing professional | en_US |
dc.subject | autonomous university hospital | en_US |
dc.title | สมดุลชีวิตในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งหนึ่ง | en_US |
dc.title.alternative | Nursing Professional’s Work-Life Balance in an Autonomous University Hospital | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://so05.tci-thaijo.org/index.php/journal_law/article/view/243237/167884 |