Publication: การประเมินความต้องการจำเป็นด้านการจัดการศึกษาของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตตามการรับรู้ของบัณฑิตพยาบาลรามาธิบดี
Issued Date
2554
Resource Type
Language
tha
ISSN
0858-9739 (Print)
2672-9784 (Online)
2672-9784 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 17, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2554), 463-477
Suggested Citation
พิศสมัย อรทัย, ศรีเวียงแก้ว เต็งเกียรติ์ตระกูล, Pisamai Orathai, Sriwiengkaew Tengkiattrakul การประเมินความต้องการจำเป็นด้านการจัดการศึกษาของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตตามการรับรู้ของบัณฑิตพยาบาลรามาธิบดี. รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 17, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2554), 463-477. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48788
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การประเมินความต้องการจำเป็นด้านการจัดการศึกษาของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตตามการรับรู้ของบัณฑิตพยาบาลรามาธิบดี
Alternative Title(s)
An Educational Needs Assessment for a Bachelor of Nursing Science Program as Perceived by Ramathibodi Nursing Graduates
Other Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความต้องการจำเป็นด้านการจัดการศึกษาของ
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ประชากรตัวอย่างคือ บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตร
พยาบาลศาสตรบัณฑิต ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล ปี พ.ศ. 2552 จำนวน 161 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินความ
ต้องการจำเป็นด้านการจัดการศึกษาของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
สถิติบรรยาย และประเมินความต้องการจำเป็นด้วย ค่า PNI modified ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการ
จำเป็นด้านการจัดการศึกษาของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตที่ควรได้รับการพัฒนาเรียงลำดับ
จากมากไปน้อยคือ 1) การบริการ/สิ่งอำนวยความสะดวก ด้านสภาพหอพัก 2) ปัจจัยสนับสนุน
การเรียนการสอน ด้านจำนวนคอมพิวเตอร์ 3) การบริหารจัดการ ด้านการแจ้งข้อมูลข่าวสาร 4)
การสนับสนุนทางวิชาการ ด้านการติดต่อ/ขอความช่วยเหลือจากบุคลากรสนับสนุน 5) เนื้อหา
หลักสูตร ด้านการจัดหมวด/รายวิชาให้สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษา 6) การวัดและ
การประเมินผล ด้านการให้ข้อมูลป้อนกลับของอาจารย์ 7) การพัฒนาส่วนบุคคล ด้านทักษะด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ 8) วิธีการจัดการเรียนการสอน ด้านความหลากหลาย ความยืดหยุ่น และ
ความทันสมัย และ 9) การสอนของอาจารย์ ด้านวิธีการสอนที่น่าสนใจ ผลการศึกษาครั้งนี้มี
ข้อเสนอแนะให้ผู้บริหารหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตเร่งปรับปรุงสภาพหอพัก จัดหาคอมพิวเตอร์
ให้เพียงพอ จัดระบบการแจ้งข้อมูลข่าวสาร และระบบการติดต่อ/ขอความช่วยเหลือจากบุคลากร
สนับสนุน จัดหมวด/รายวิชาให้สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษา พัฒนาการให้ข้อมูล
ป้อนกลับของอาจารย์ พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษา ใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย
ยืดหยุ่น ทันสมัย และน่าสนใจ
The purpose of this research was to assess educational needs for a Bachelor of Nursing Science program. One hundred and sixty-one Ramathibodi nursing graduates in 2009 responded to the Educational Need Assessment questionnaire. Descriptive statistics and assessing for education needs using PNI modified formula were used to analyze data. The results showed that the ranking of educational needs in Bachelor of Nursing Science program from high to low were: 1) facility service and educational facility regarding cleanliness and orderly place and safety in the dormitory; 2) factors supporting learning and teaching, especially for sufficiency of computers; 3) administration and management about sharing and updating information; 4) academic support regarding communication and personal support of help seeking; 5) course contents, for instance, management of course subjects should be relevant with students’ needs; 6) measurement and evaluation in regard to faculty feedback; 7) personal development regarding information technology competency; 8) learning and teaching methods about variability, flexibility, and up to date information; and 9) faculty teaching, especially for interesting technique in teaching. The findings in this study suggested that administrators who are involved with the Bachelor program should promptly improve dormitory environments and safety, support sufficient computers, establish information system, provide communication, and personal support help-seeking system, manage relevancy of the course content, provide faculty feedback, develop information technology competency, and have varied, flexible, interesting, as well as updated information for faculty teaching.
The purpose of this research was to assess educational needs for a Bachelor of Nursing Science program. One hundred and sixty-one Ramathibodi nursing graduates in 2009 responded to the Educational Need Assessment questionnaire. Descriptive statistics and assessing for education needs using PNI modified formula were used to analyze data. The results showed that the ranking of educational needs in Bachelor of Nursing Science program from high to low were: 1) facility service and educational facility regarding cleanliness and orderly place and safety in the dormitory; 2) factors supporting learning and teaching, especially for sufficiency of computers; 3) administration and management about sharing and updating information; 4) academic support regarding communication and personal support of help seeking; 5) course contents, for instance, management of course subjects should be relevant with students’ needs; 6) measurement and evaluation in regard to faculty feedback; 7) personal development regarding information technology competency; 8) learning and teaching methods about variability, flexibility, and up to date information; and 9) faculty teaching, especially for interesting technique in teaching. The findings in this study suggested that administrators who are involved with the Bachelor program should promptly improve dormitory environments and safety, support sufficient computers, establish information system, provide communication, and personal support help-seeking system, manage relevancy of the course content, provide faculty feedback, develop information technology competency, and have varied, flexible, interesting, as well as updated information for faculty teaching.