Publication: An Integrative Review of Breastfeeding among Adolescent Mothers: An Ecological Model Approach
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Nursing Science. Vol. 35, No. 4 ( 2017), 21-32
Suggested Citation
ศศิธารา น่วมภา, Sasitara Nuampa, ฟองคํา ติลกสกุลชัย, Fongcum Tilokskulchai An Integrative Review of Breastfeeding among Adolescent Mothers: An Ecological Model Approach. Journal of Nursing Science. Vol. 35, No. 4 ( 2017), 21-32. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44110
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
An Integrative Review of Breastfeeding among Adolescent Mothers: An Ecological Model Approach
Alternative Title(s)
การทบทวนวรรณกรรมเชิงบูรณาการของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาวัยรุ่น: การวิเคราะห์โดยใช้โมเดลเชิงนิเวศวิทยา
Abstract
Purpose: This integrative review aimed to examine factors associated with breastfeeding practices among adolescent mothers based on the multilevel ecological approach.
Design: An integrative review.
Methods: Original research studies published in 2000-2016 were identified using electronic databases (PubMed, Proquest, CINAHL, Cochrane Library, Ovid Medline, and Science Direct). Articles were critically reviewed and extracted using an approach based on the QualSyst tool. From 127 relevant research articles identified, 26 original researches were included in the present review.
Main findings: The key factors of four levels based on the Ecological Model were reviewed including intrapersonal, interpersonal, institutional, and community influences, which influenced breastfeeding decisions and practices.
Conclusion and recommendations: The results identified a need for future experimental research examining an effective intervention specifically tailored for adolescents by adapting multi-level factors on breastfeeding, in order to increase breastfeeding duration and achieve exclusive breastfeeding at six months.
วัตถุประสงค์: การทบทวนวรรณกรรมเชิงบูรณาการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาวัยรุ่น โดยใช้กรอบแนวคิดเชิงนิเวศวิทยา รูปแบบการวิจัย: การทบทวนวรรณกรรมเชิงบูรณาการ วิธีดำเนินการวิจัย: สืบค้นงานวิจัยที่ตีพิมพ์ระหว่าง 2000-2016 โดยใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (PubMed, Proquest, CINAHL, Cochrane Library, Ovid Medline, and Science Direct) สกัดงานวิจัยโดยใช้เครื่องมือ QualSyst จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจำนวน 127 เรื่อง มีงานวิจัยจำนวน 26 เรื่องที่ผ่านการคัดเลือกและนำมาวิเคราะห์ในการศึกษานี้ ผลการวิจัย: ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเพิ่มระยะเวลาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ครอบคลุม 4 ระดับของโมเดลเชิงนิเวศวิทยา ได้แก่ ปัจจัยภายในตัวบุคคล ปัจจัยระดับบุคคล ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับองค์กร และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับชุมชน สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลของการทบทวนวรรณกรรมเชิงบูรณาการนี้ชี้ให้เห็นความต้องการงานวิจัยเชิงทดลองที่ทดสอบผลของโปรแกรมที่มีความเจาะจงกับมารดาวัยรุ่น โดยครอบคลุมหลายระดับปัจจัยทั้งในระดับบุคคลและสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มระยะเวลาของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาวัยรุ่น ตามเป้าหมายระดับประเทศ
วัตถุประสงค์: การทบทวนวรรณกรรมเชิงบูรณาการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาวัยรุ่น โดยใช้กรอบแนวคิดเชิงนิเวศวิทยา รูปแบบการวิจัย: การทบทวนวรรณกรรมเชิงบูรณาการ วิธีดำเนินการวิจัย: สืบค้นงานวิจัยที่ตีพิมพ์ระหว่าง 2000-2016 โดยใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (PubMed, Proquest, CINAHL, Cochrane Library, Ovid Medline, and Science Direct) สกัดงานวิจัยโดยใช้เครื่องมือ QualSyst จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจำนวน 127 เรื่อง มีงานวิจัยจำนวน 26 เรื่องที่ผ่านการคัดเลือกและนำมาวิเคราะห์ในการศึกษานี้ ผลการวิจัย: ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเพิ่มระยะเวลาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ครอบคลุม 4 ระดับของโมเดลเชิงนิเวศวิทยา ได้แก่ ปัจจัยภายในตัวบุคคล ปัจจัยระดับบุคคล ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับองค์กร และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับชุมชน สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลของการทบทวนวรรณกรรมเชิงบูรณาการนี้ชี้ให้เห็นความต้องการงานวิจัยเชิงทดลองที่ทดสอบผลของโปรแกรมที่มีความเจาะจงกับมารดาวัยรุ่น โดยครอบคลุมหลายระดับปัจจัยทั้งในระดับบุคคลและสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มระยะเวลาของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาวัยรุ่น ตามเป้าหมายระดับประเทศ