Publication:
ระบาดวิทยาภูมิศาสตร์ในงานสาธารณสุข

dc.contributor.authorมธุรส ทิพยมงคลกุลen_US
dc.contributor.authorMathuros Tipayamongkholgulen_US
dc.contributor.correspondenceมธุรส ทิพยมงคลกุลen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาระบาดวิทยาen_US
dc.date.accessioned2015-01-22T03:27:58Z
dc.date.accessioned2017-06-30T08:35:23Z
dc.date.available2015-01-22T03:27:58Z
dc.date.available2017-06-30T08:35:23Z
dc.date.created2558
dc.date.issued2555
dc.description.abstractจากแนวคิดที่ว่าการเกิดโรคมีลักษณะเฉพาะ ในแต่ ละพื้ นที่และไม่ ได้ เกิ ดขึ้ นโดยบั งเอิ ญหรื อโดยสุ่ มลักษณะทางกายภาพและชีวภาพในแต่ละพื้นที่เป็น ตัวกำหนดให้การเกิดโรคมีลักษณะเป็นกลุ่มก้อน ระบาดวิทยาภูมิศาสตร์เป็นเครื่องมือในงานสาธารณสุข ที่พัฒนาจากแนวคิดดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ พรรณนาและวิเคราะห์สถานการณ์โรคในแต่ละพื้นที่ ตามปัจจัยประชากร สิ่งแวดล้อม สังคม พฤติกรรม และพันธุกรรม รวมถึงประยุกต์ระบาดวิทยาเชิงนิเวศ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ และสถิติเชิง ภูมิศาสตร์ เพื่อระบุปัจจัยเชิงนิเวศที่เกี่ยวข้องกับ สถานการณ์โรคในแต่ละพื้นที่ ปัจจุบันนี้ระบาดวิทยา ภูมิศาสตร์ได้ถูกประยุกต์ใช้ในการศึกษาของหลายแขนง วิชา เช่น อาชญวิทยา สาธารณสุขศาสตร์สิ่งแวดล้อม สังคมศาสตร์การแพทย์ รวมถึงการประยุกต์ใช้ในการ เฝ้าระวังโรค การศึกษาระบาดวิทยาภูมิศาสตร์ในงาน สาธารณสุขมีส่วนช่วยวางแผนทรัพยากร วางแผน บริการสุขภาพ ดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค และประเมินผลโครงการป้องกัน ควบคุมโรคen_US
dc.description.abstractRegarding the disease occurrence concept, disease does not occur randomly, it is dominated by typical physical and biological characteristics of the area. Spatial epidemiology is a public health tool that was developed under such concept that aims to describe and analyze disease situations in each area regarding population, environmental, societal, behavior and genetic factors. Also, Ecological design, Geographic information system and Spatial statistics are employed to identify ecological factors relating to health situation. Up to date, spatial epidemiology has been applied to several discipline such as criminology, environmental health and surveillance system. Spatial epidemiology in public health has assisted to set resource allocation planning, health service planning, operating disease prevention and control.
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 42, ฉบับที่ 3 (2555), 44-54en_US
dc.identifier.issn0125-1678
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2457
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectระบาดวิทยาen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์en_US
dc.subjectสาธารณสุขen_US
dc.subjectEpidemiologyen_US
dc.subjectGISen_US
dc.subjectPublic Healthen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Public Healthen_US
dc.titleระบาดวิทยาภูมิศาสตร์ในงานสาธารณสุขen_US
dc.title.alternativeSpatial epidemiology in public healthen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/jph/article/view/7890

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-mathuros-2555.pdf
Size:
403.43 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections