Publication: รายงานวิจัยเรื่อง พลังประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อการพัฒนาชุมชน กรณีศึกษาชุมชนอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
Issued Date
2544
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 20, ฉบับที่ 2 (พ.ค.- ส.ค. 2544), 97-116
Suggested Citation
เอี่ยม ทองดี, วราภรณ์ ศรีสุพรรณ, วัฒนา เทียมปฐม, เสลภูมิ วรนิมมานนท์, สำเริง อยู่ประจำ, วิไลวรรณ โอรส, Iam Thongdee, Samrerng Yuprajum, Waraporn Srisuphan, Selaphum Woranimmanon, Wattana Thiampathom รายงานวิจัยเรื่อง พลังประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อการพัฒนาชุมชน กรณีศึกษาชุมชนอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 20, ฉบับที่ 2 (พ.ค.- ส.ค. 2544), 97-116. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/58464
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
รายงานวิจัยเรื่อง พลังประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อการพัฒนาชุมชน กรณีศึกษาชุมชนอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
Other Contributor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
กระทรวงสาธารณสุข. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. โรงพยาบาลพุทธมลฑล
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำนักงานการประถมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
กระทรวงสาธารณสุข. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. โรงพยาบาลพุทธมลฑล
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำนักงานการประถมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Abstract
การศึกษาวิจัยเรื่อง “พลังประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อการพัฒนาชุมชน” กรณีศึกษาชุมชน อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม” เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากเอกสารและภาคสนาม โดยการสัมภาษณ์บุคคล กลุ่ม และการจัดเวทีสนทนาโดยมุ่งศึกษาสองประเด็นหลัก คือ มีเหตุการณ์ใดบ้างที่จัดเป็นประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และเหตุการณ์เหล่านั้นเป็นพลังต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนในลักษณะอย่างไรบ้างหรือไม่ ซึ่งผลการศึกษาพบว่ามีเหตุการณ์หลายอย่างที่เกิดขึ้นและจัดได้ว่าเป็นประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นทั้งโดยตรงและโดยอ้อม และพบว่าประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เกี่ยวกับอาณาจักรสุวรรณภูมิ, อาณาจักรทวาราวดี, พระพุทธศาสนา, พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรี, หน่วยงานภาครัฐ, การเมืองการปกครอง, กรุงเทพมหานคร และเหตุการณ์ทั่วไป เป็นปัจจัยสำคัญยิ่งต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรในท้องถิ่น โดยเกิดขึ้นในลักษณะที่เป็นเหตุเป็นผลของกันและกัน ทั้งในส่วนดีและไม่ดี แต่ชุมชนไม่ได้ตระหนักในความสำคัญของพลังดังกล่าว
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ที่สำคัญคือน่าจะเพิ่มคุณค่าความสำคัญของประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อการพัฒนาชุมชนให้มากขึ้น โดยการนำเอามิติทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่นมาใช้เพื่อการพัฒนาชุมชนคนในชุมชนจะได้รู้รากเหง้าความเป็นมาของตนเอง และเกิดความภูมิใจหวงแหน สำนึกรับผิดชอบต่อท้องถิ่นมากขึ้น พร้อมๆ กับการพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆ