Publication:
รายงานวิจัยเรื่อง พลังประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อการพัฒนาชุมชน กรณีศึกษาชุมชนอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

dc.contributor.authorเอี่ยม ทองดีen_US
dc.contributor.authorวราภรณ์ ศรีสุพรรณen_US
dc.contributor.authorวัฒนา เทียมปฐมen_US
dc.contributor.authorเสลภูมิ วรนิมมานนท์en_US
dc.contributor.authorสำเริง อยู่ประจำen_US
dc.contributor.authorวิไลวรรณ โอรสen_US
dc.contributor.authorIam Thongdeeen_US
dc.contributor.authorSamrerng Yuprajumen_US
dc.contributor.authorWaraporn Srisuphanen_US
dc.contributor.authorSelaphum Woranimmanonen_US
dc.contributor.authorWattana Thiampathomen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบทen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์en_US
dc.contributor.otherกระทรวงสาธารณสุข. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. โรงพยาบาลพุทธมลฑลen_US
dc.contributor.otherสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลen_US
dc.contributor.otherสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำนักงานการประถมศึกษาen_US
dc.contributor.otherกระทรวงศึกษาธิการ. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์en_US
dc.date.accessioned2020-08-31T06:55:31Z
dc.date.available2020-08-31T06:55:31Z
dc.date.created2563-08-31
dc.date.issued2544
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่อง “พลังประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อการพัฒนาชุมชน” กรณีศึกษาชุมชน อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม” เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากเอกสารและภาคสนาม โดยการสัมภาษณ์บุคคล กลุ่ม และการจัดเวทีสนทนาโดยมุ่งศึกษาสองประเด็นหลัก คือ มีเหตุการณ์ใดบ้างที่จัดเป็นประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และเหตุการณ์เหล่านั้นเป็นพลังต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนในลักษณะอย่างไรบ้างหรือไม่ ซึ่งผลการศึกษาพบว่ามีเหตุการณ์หลายอย่างที่เกิดขึ้นและจัดได้ว่าเป็นประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นทั้งโดยตรงและโดยอ้อม และพบว่าประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เกี่ยวกับอาณาจักรสุวรรณภูมิ, อาณาจักรทวาราวดี, พระพุทธศาสนา, พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรี, หน่วยงานภาครัฐ, การเมืองการปกครอง, กรุงเทพมหานคร และเหตุการณ์ทั่วไป เป็นปัจจัยสำคัญยิ่งต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรในท้องถิ่น โดยเกิดขึ้นในลักษณะที่เป็นเหตุเป็นผลของกันและกัน ทั้งในส่วนดีและไม่ดี แต่ชุมชนไม่ได้ตระหนักในความสำคัญของพลังดังกล่าว ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ที่สำคัญคือน่าจะเพิ่มคุณค่าความสำคัญของประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อการพัฒนาชุมชนให้มากขึ้น โดยการนำเอามิติทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่นมาใช้เพื่อการพัฒนาชุมชนคนในชุมชนจะได้รู้รากเหง้าความเป็นมาของตนเอง และเกิดความภูมิใจหวงแหน สำนึกรับผิดชอบต่อท้องถิ่นมากขึ้น พร้อมๆ กับการพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆen_US
dc.identifier.citationวารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 20, ฉบับที่ 2 (พ.ค.- ส.ค. 2544), 97-116en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/58464
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectประวัติศาสตร์en_US
dc.subjectเศรษฐกิจen_US
dc.subjectสังคมen_US
dc.subjectชุมชนen_US
dc.subjectอำเภอพุทธมณฑลen_US
dc.subjectจังหวัดนครปฐมen_US
dc.subjectการพัฒนาen_US
dc.subjectHistoryen_US
dc.subjectCommunitiesen_US
dc.subjectSocialen_US
dc.subjectDevelopmenten_US
dc.subjectวารสารภาษาและวัฒนธรรมen_US
dc.subjectJournal of Language and Cultureen_US
dc.titleรายงานวิจัยเรื่อง พลังประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อการพัฒนาชุมชน กรณีศึกษาชุมชนอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/32432/27675

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
lc-ar-iam-2544.pdf
Size:
4.71 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections