Publication:
การประยุกต์ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อป้องกันหลอดเลือดดำอุดกั้นในผู้ป่วยอายุรกรรม-ศัลยกรรม

dc.contributor.authorพรทิพย์ สารีโสen_US
dc.contributor.authorPorntip Sareesoen_US
dc.contributor.authorเกศรินทร์ อุทริยะประสิทธ์en_US
dc.contributor.authorKetsarin Utriyaprasiten_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2018-01-12T15:40:52Z
dc.date.available2018-01-12T15:40:52Z
dc.date.created2018-01-12
dc.date.issued2011
dc.description.abstractหลอดเลือดดำอุดกั้น หมายถึง กระบวนการอักเสบที่เกิดขึ้นภายในผนังหลอดเลือดดำส่วนลึกทำให้มีการอุดตันจากลิ่มเลือด มีสาเหตุมาจาก 1) การหยุดนิ่งของเลือดดำ 2) ผนังภายในหลอดเลือดดำได้รับอันตรายและ 3) มีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยในการแข็งตัวของเลือดซึ่งพบได้บ่อยในผู้ป่วยอายุรกรรม-ศัลยกรรมที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เนื่องจากกลุ่มผู้ป่วยดังกล่าวมีองค์ประกอบของการเกิดหลอดเลือดดำอุดกั้นทั้ง 3 ประการร่วมกัน หลอดเลือดดำอุดกั้นเป็นภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหวทำให้ผู้ป่วยต้องอยู่ในโรงพยาบาลนานขึ้นและอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตจากการหลุดของลิ่มเลือดไปอุดที่หลอดเลือดดำของปอด ดังนั้น การประเมิน การป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์นับเป็นบทบาทที่สำคัญยิ่งของพยาบาล แนวปฏิบัติการพยาบาลที่พัฒนาขึ้นในรายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันหลอดเลือดดำอุดกั้น โดยรวบรวมจาการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์เมื่อนำไปใช้พบว่าสามารถปฏิบัติได้ง่าย พยาบาลมีความความมั่นใจและพึงพอใจในการปฏิบัติพยาบาลและเป็นการเพิ่มคุณภาพในการดูแลผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นen_US
dc.description.abstractDeep vein thrombosis (DVT) is a form of venous thromboembolism, the cause of which is associated with venous stasis, vessel wall damage and coagulation changes. Medical-surgical patients in hospital are at high risk for DVT because they are often immobilized in a prone position for extended periods. This can lead to increased length of hospital stay and other life-threatening events such as pulmonary embolism. Thus, DVT risk assessments, prevention of complications and rehabilitation based on evidence-based practice or scientific knowledge are needed. This study aimed to develop a guideline for DVT prevention, based on evidence-based practice. The application of this guideline was found to be practical; increased nurses’ confidence levels and satisfaction in nursing interventions; and enhanced the effectiveness and quality of care for medical-surgical patients.en_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (เม.ย.- มิ.ย. 2554), 27-36en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3329
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectหลอดเลือดดำอุดกั้นen_US
dc.subjectแนวปฏิบัติการพยาบาลen_US
dc.subjectการประเมินปัจจัยเสี่ยงen_US
dc.subjectลิ่มเลือดไปอุดที่หลอดเลือดดำของปอดen_US
dc.subjectผู้ป่วยอายุรกรรม-ศัลยกรรมen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อป้องกันหลอดเลือดดำอุดกั้นในผู้ป่วยอายุรกรรม-ศัลยกรรมen_US
dc.title.alternativeApplication of Evidence-based Practice for Deep Vein Thrombosis Prevention in Medical-Surgical Patientsen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlwww.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/744

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-porntip-2554.pdf
Size:
2.3 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections