Publication: Comparison between Different Preparations (Fruit Juice, Freeze-Dried Fruit Juice and Seedless Dry Fruit) of Bitter Melon (Momordica Charantia) on Postprandial Plasma Glucose, Insulin and Lipid Levels in Type 2 Diabetics
Issued Date
2011
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Institute of Nutrition Mahidol University
Institute of Nutrition Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 34, No. 4 (Oct-Dec 2011),
Suggested Citation
Rungrat Chiwatanasaransuk, Pariya Phanachet, Surat Komindr, รุ่งรัตน์ ไชยวัฒนาสราญสุข, ปริย พรรณเชษฐ์, สุรัตน์ โคมินทร์ Comparison between Different Preparations (Fruit Juice, Freeze-Dried Fruit Juice and Seedless Dry Fruit) of Bitter Melon (Momordica Charantia) on Postprandial Plasma Glucose, Insulin and Lipid Levels in Type 2 Diabetics. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 34, No. 4 (Oct-Dec 2011),. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79844
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Comparison between Different Preparations (Fruit Juice, Freeze-Dried Fruit Juice and Seedless Dry Fruit) of Bitter Melon (Momordica Charantia) on Postprandial Plasma Glucose, Insulin and Lipid Levels in Type 2 Diabetics
Alternative Title(s)
ผลของการบริโภคมะระขี้นกในรูปแบบต่างๆ (น้ำมะระขี้นก ผงมะระขี้นกทำแห้งแบบเยือกแข็งจากน้ำและจากผลมะระขี้นกตากแห้ง) ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแบบเฉียบพลันของระดับน้ำตาล อินสุลิน และไขมันในกระแสเลือดหลังอาหาร ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง
Abstract
Background: Bitter Melon (Momordica Charantia) (MC) has been used as an antidiabetic herb for a long time. However, research evidence has been conflicting.
Objective: This study aimed to compare the effects of different preparations of Momordia charantia (MC) prepared by various processing (fruit juice, freeze-dried fruit juice and seedless dry fruit) on postprandial plasma glucose, insulin, and triglyceride levels in type 2 diabetics.
Method: This was a randomized cross-over study. Twelve type 2 diabetics from Ramathibodi hospital who had been on dietary control with or without oral hypoglycemic agents were randomized to undergo 4 acute tests. The tests consisted of ingestion of MC fruit juice, freeze-dried MC fruit juice, and seedless dry MC fruit before having a 400 kcal standard meal and a control with on MC. There were 1 month washouts between tests. Blood samples were drawn before taking in the standard meal (0 min) and at 60, 120 and 240 minutes after the meal.
Results: After ingestion of the MC fruit juice, mean postprandial glucose levels at 60 and 120 minutes (155 ± 9 and 169 ± 12 mg/dl) and the area under the glucose curve (AUC) were significantly (p < 0.037) lower than the control period (194 ± 11 and 233 ± 13 mg/dl) whereas no significant difference was found after ingestion of other of other MC preparations. All MC preparations tended to produce lower postprandial insulin surges as compared to the control period but there were no significant differences between them. Whereas postprandial TG rose significantly during the control period and after ingestion of other MC preparations, there was on significant rise of postprandial triglyceridemia after MC fruit juice (107 ± 62 and 116 ± 65 mg/dl). The only side effects seen were a bowel movement and flatulence occurred in particularly after MC fruit juice.
Conclusions: The results demonstrated that among all MC products, the most efficient preparation for postprandial glycemic and triglyceridemia control was seen MC fruit juice. No serious adverse everts were note throughout the study.
บทนำ: มะระขี้นกได้ถูกนำมาใช้ในการรักษาโรคเบาหวานมาเป็นเวลานานแต่งานวิจัยต่างๆ ยังหาข้อสรุปไม่ได้ วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบผลของการกินมะระขี้นกรูปแบบต่างๆ (น้ำมะระขี้นก ผงมะระขี้นกทำแห้งแบบเยือกแข็งจากน้ำ และจากผลมะระขี้นกตากแห้ง) ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแบบเฉียบพลันของระดับน้ำตาล อินสุลิน และไขมันไตรกลีเซอไรด์ในกระแสเลือดหลังอาหารของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง วิธีการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบไขว้ โดยการสุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เข้าร่วมโครงการ 12 คนซึ่งเป็นผู้ป่วยที่มีการควบคุมอาหารทั้งที่ได้รับและไม่ได้รับยาลดระดับน้ำตาลในกระแสเลือดเพื่อเปรียบเทียบผลของการกินมะระขี้นกรูปแบบต่างๆ (น้ำมะระขี้นก ผงมะระขี้นกทำแห้งแบบเยือกแข็งจากน้ำ และจากผลมะระขี้นกตากแห้ง) ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแบบเฉียบพลันของระดับน้ำตาล อินสุลิน และไขมันไตรกลีเซอไรด์ในกระแสเลือดหลังอาหาร ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง ได้ทำการทดสอบดูผลระยะสั้น 4 การทดสอบคือ ได้รับน้ำมะระขี้นกคั้นสด, ได้รับผลมะระขี้นกทำแห้งแบบเยือกแข็งจากน้ำมะระ และได้รับมะระขี้นกจากผลตากแห้ง ก่อนได้รับอาหารมาตรฐานที่มีพลังงาน 400 kcal และการทดสอบที่ไม่ได้รับมะระขี้นก โดยมีระยะพักระหว่างแต่ละชนิดการทดสอบ 1 เดือน มีการเจาะเลือดก่อนได้รับอาหารมาตรฐาน (0 นาที) และ 60, 120 และ 240 นาทีหลังอาหาร ผลการศึกษา: หลังได้รับน้ำมะระคั้นสด ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดที่เวลา 60 และ 120 นาที (155 ± 9 และ 169 ± 12 mg/dl) และพื้นที่ใต้กราฟของระดับน้ำตาลในเลือดหลังรับประทานอาหารลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่า p < 0.037) เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำตาลระยะควบคุม (194 ± 11 และ 233 ± 13 mg/dl) ในขณะที่ไม่ได้รับน้ำมะระที่ช่วงเวลาเดียวกัน มะระขี้นกทุกรูปแบบมีแนวโน้มลดการเพิ่มขึ้นของระดับอินสุลินหลังอาหาร เมื่อเปรียบเทียบกับมะระควบคุมอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ระดับไตรกลีเซอไรด์หลังอาหารเพิ่มขึ้นในระยะควบคุมและหลังบริโภคมะระขี้นกผลิตภัณฑ์อื่น การบริโภคน้ำมะระขี้นกสามารถทำให้ระดับไตรกลีเซอไรด์หลังอาหารไม่เพิ่มขึ้น (107 ± 62 และ 116 ± 65 mg/dl) ในระยะที่ได้รับน้ำมะระขี้นกมีการถ่ายอุจาระประมาณ 1 ครั้ง และมีลมในช่องท้องเกิดขึ้นโดยไม่มีผลข้างเคียงอื่น สรุปผล: ในระหว่างผลิตภัณฑ์จากมะระขี้นก น้ำมะระขี้นกคั้นสดมีประสิทธิภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลและไตรกลีเซอไรด์หลังอาหารดีที่สุด ไม่มีผลข้างเคียงที่ร้ายแรงตลอดทั้งการศึกษาครั้งนี้
บทนำ: มะระขี้นกได้ถูกนำมาใช้ในการรักษาโรคเบาหวานมาเป็นเวลานานแต่งานวิจัยต่างๆ ยังหาข้อสรุปไม่ได้ วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบผลของการกินมะระขี้นกรูปแบบต่างๆ (น้ำมะระขี้นก ผงมะระขี้นกทำแห้งแบบเยือกแข็งจากน้ำ และจากผลมะระขี้นกตากแห้ง) ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแบบเฉียบพลันของระดับน้ำตาล อินสุลิน และไขมันไตรกลีเซอไรด์ในกระแสเลือดหลังอาหารของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง วิธีการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบไขว้ โดยการสุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เข้าร่วมโครงการ 12 คนซึ่งเป็นผู้ป่วยที่มีการควบคุมอาหารทั้งที่ได้รับและไม่ได้รับยาลดระดับน้ำตาลในกระแสเลือดเพื่อเปรียบเทียบผลของการกินมะระขี้นกรูปแบบต่างๆ (น้ำมะระขี้นก ผงมะระขี้นกทำแห้งแบบเยือกแข็งจากน้ำ และจากผลมะระขี้นกตากแห้ง) ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแบบเฉียบพลันของระดับน้ำตาล อินสุลิน และไขมันไตรกลีเซอไรด์ในกระแสเลือดหลังอาหาร ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง ได้ทำการทดสอบดูผลระยะสั้น 4 การทดสอบคือ ได้รับน้ำมะระขี้นกคั้นสด, ได้รับผลมะระขี้นกทำแห้งแบบเยือกแข็งจากน้ำมะระ และได้รับมะระขี้นกจากผลตากแห้ง ก่อนได้รับอาหารมาตรฐานที่มีพลังงาน 400 kcal และการทดสอบที่ไม่ได้รับมะระขี้นก โดยมีระยะพักระหว่างแต่ละชนิดการทดสอบ 1 เดือน มีการเจาะเลือดก่อนได้รับอาหารมาตรฐาน (0 นาที) และ 60, 120 และ 240 นาทีหลังอาหาร ผลการศึกษา: หลังได้รับน้ำมะระคั้นสด ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดที่เวลา 60 และ 120 นาที (155 ± 9 และ 169 ± 12 mg/dl) และพื้นที่ใต้กราฟของระดับน้ำตาลในเลือดหลังรับประทานอาหารลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่า p < 0.037) เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำตาลระยะควบคุม (194 ± 11 และ 233 ± 13 mg/dl) ในขณะที่ไม่ได้รับน้ำมะระที่ช่วงเวลาเดียวกัน มะระขี้นกทุกรูปแบบมีแนวโน้มลดการเพิ่มขึ้นของระดับอินสุลินหลังอาหาร เมื่อเปรียบเทียบกับมะระควบคุมอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ระดับไตรกลีเซอไรด์หลังอาหารเพิ่มขึ้นในระยะควบคุมและหลังบริโภคมะระขี้นกผลิตภัณฑ์อื่น การบริโภคน้ำมะระขี้นกสามารถทำให้ระดับไตรกลีเซอไรด์หลังอาหารไม่เพิ่มขึ้น (107 ± 62 และ 116 ± 65 mg/dl) ในระยะที่ได้รับน้ำมะระขี้นกมีการถ่ายอุจาระประมาณ 1 ครั้ง และมีลมในช่องท้องเกิดขึ้นโดยไม่มีผลข้างเคียงอื่น สรุปผล: ในระหว่างผลิตภัณฑ์จากมะระขี้นก น้ำมะระขี้นกคั้นสดมีประสิทธิภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลและไตรกลีเซอไรด์หลังอาหารดีที่สุด ไม่มีผลข้างเคียงที่ร้ายแรงตลอดทั้งการศึกษาครั้งนี้