Publication: ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของเด็กเกิดก่อนกำหนดอายุ 1 – 2 ปี
dc.contributor.author | วิลาสินี วงศ์แสง | |
dc.contributor.author | ทิพวัลย์ ดารามาศ | |
dc.contributor.author | จริยา วิทยะศุภร | |
dc.contributor.author | Wilasinee Wongsaeng | |
dc.contributor.author | Tipawan Daramas | |
dc.contributor.author | Jariya Wittayasooporn | |
dc.date.accessioned | 2024-06-24T08:46:21Z | |
dc.date.available | 2024-06-24T08:46:21Z | |
dc.date.created | 2567-06-24 | |
dc.date.issued | 2566 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของเด็กเกิดก่อนกำหนดอายุ 1–2 ปี กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาและเด็กอายุ 1-2 ปี ที่มีประวัติ เกิดก่อนกำหนด ที่มารับบริการตรวจที่คลินิกทารกแรกเกิดและคลินิกทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 จำนวน 78 ราย เลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้าเครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของมารดาและเด็ก ประเมิน พัฒนาการเด็กโดยใช้คู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่ม เสี่ยง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องโดยใช้การทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า เด็กเกิดก่อนกำหนดอายุ 1-2 ปี มีพั ฒนาการปกติร้อยละ 71.79 และสงสัย ว่าล่าช้าร้อยละ 28.21 โดยพบว่าพัฒนาการด้านที่สงสัยล่าช้ามากที่สุด คือ พัฒนาการด้านการใช้ภาษา และพบว่าการเล่านิทานและการกินนมแม่มีความเกี่ยวข้องกับพัฒนาการของเด็กเกิดก่อนกำหนดอายุ 1-2 ปีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการติดตาม พัฒนาการในเด็กเกิดก่อนกำหนดเป็นระยะ และให้คำแนะนำมารดาเกี่ยวกับการเล่านิทานตามช่วงวัยและการส่งเสริมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการในเด็กเกิดก่อนกำหนดให้เหมาะสมตามวัย | |
dc.description.abstract | This cross-sectional descriptive research aimed to examine factors related to the development of preterm children aged 1-2 years. The subjects of this study were the mothers and preterm children aged 1-2 years at a newborn clinic and a very low birth weight clinic in a university hospital. The data were collected from June to November 2020. There were 78 subjects selected by purposive sampling. Data were collected using a personal information questionnaire and the Developmental Assessment for Intervention Manual. The data were analyzed using descriptive statistics and the Chi-square test. The study revealed that the normal developmental preterm children were 71.79%, and the suspected developmental delays were 28.21%. The findings showed that the mostly suspected delayed development aspect was expressive language.The factors related to the development of preterm children aged 1-2 years were storytelling and breastfeeding with statistical significance. Therefore, the relevant agencies should periodically monitor the development of preterm children and advise mothers about age-related storytelling and promoting breastfeeding to promote the development of preterm children according to their age. | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2566), 145-156 | |
dc.identifier.issn | 2822-1370 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2822-1389 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98944 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | พัฒนาการ | |
dc.subject | คู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง | |
dc.subject | ทารกเกิดก่อนกำหนด | |
dc.subject | Development | |
dc.subject | Developmental Assessment for Intervention Manual (DAIM) | |
dc.subject | Preterm children | |
dc.title | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของเด็กเกิดก่อนกำหนดอายุ 1 – 2 ปี | |
dc.title.alternative | Factors Related to the Development of Preterm Children aged 1-2 years | |
dc.type | Research Article | |
dcterms.accessRights | open access | |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/254598/145-156 | |
oaire.citation.endPage | 156 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 145 | |
oaire.citation.title | วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล | |
oaire.citation.volume | 29 | |
oaire.version | Accepted Manuscript | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
Files
Original bundle
1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
- Name:
- ra-ar-tipawan-2566-1.pdf
- Size:
- 391.89 KB
- Format:
- Adobe Portable Document Format