Publication: Using cone-beam computerized tomography before intiating intentional endodontic treatment.
Accepted Date
2011-09-02
Issued Date
2011-05
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-5614 (printed)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Dentistry Mahidol University
Bibliographic Citation
Arayasantiparb R, Leetrakulwanna C, Banomyong D. Using cone-beam computerized tomography before intiating intentional endodontic treatment. M Dent J. 2011; 31(2): 81-7.
Suggested Citation
Raweewan Arayasantiparb, ระวีวรรณ อารยะสันติภาพ, Chitvaree Leetrakulwanna, ชิตวรี ลีตระกูลวรรณา, Danuchit Banomyong, ดนุชิษณ์ พนมยงค์ Using cone-beam computerized tomography before intiating intentional endodontic treatment.. Arayasantiparb R, Leetrakulwanna C, Banomyong D. Using cone-beam computerized tomography before intiating intentional endodontic treatment. M Dent J. 2011; 31(2): 81-7.. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1090
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Using cone-beam computerized tomography before intiating intentional endodontic treatment.
Alternative Title(s)
การใช้ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีประเมิน เพื่อช่วยในการตัดสินใจก่อนการรักษาอินเทนชันนอลเอ็นโดดอนต์
Corresponding Author(s)
Abstract
Objective: To present the usefulness of cone-beam computerized
tomography (CBCT) in order to judge the necessity of an intentional
endodontic treatment before crown preparation in an over-erupted tooth.
Materials and methods: The upper left first molar was over-erupted 2.5 to
3 mm from occlusal plane and planned to be adjusted before fabricating
the new dentures. From the preparation on duplicated model, 4.0-4.5
and 3.5-4.0 mm preparation depth were needed at the buccal cusps and
palatal cusps. CBCT was used to obtain three-dimensional details of tooth.
Results: From the CBCT images, the highest points of pulpal horns
were clearly demonstrated. The minimal remaining tooth thicknesses
obtained from CBCT were 3.25, 3.5 and 4.0 mm for mesiobuccal,
distobuccal and palatal pulpal horns, respectively. Since the pulpal exposure
would occur during crown preparation, intentional endodontic therapy was
initiated.
Conclusion: CBCT is an alternative radiographic option before initiating
intentional endodontic treatment.
วัตถุประสงค์: เพื่อแสดงถึงประโยชน์ของการใช้ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีในการช่วยตัดสินใจก่อนเริ่มการรักษาอินเทนซันนอลเอ็นโดดอนต์ในฟันที่งอกย้อยจากระนาบสบฟันและต้องถูกกรอแต่งเพื่อเตรียมทำครอบฟัน วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: ในบทความนี้รายงานถึงฟันกรามบนซ้ายซี่ที่หนึ่งซึ่งมีภาวะฟันงอก (over-eruption) เลยระนาบสบ และได้ถูกวางแผนการรักษาเพื่อที่จะปรับระดับการสบฟันก่อนเตรียมช่องปากสำหรับทำฟันปลอมแบบถอดได้และจากการกรอในแบบจำลองถอดแบบ (duplicated) พบว่าต้องการกรอฟันที่ปุ่มด้านแก้ม (buccal cusp) ลึกประมาณ 4.0-4.5 มม. และปุ่มเพดาน (palatal cusp) ลึกประมาณ 3.5-4.0 มม. ฟันซี่ดังกล่าวได้รับการถ่ายภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีเพื่อดูรายละเอียดของฟันในระนาบ 3 มิติ ผลการศึกษา: ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีสามารถแสดงจุดสูงสุดของส่วนยอดเนื้อเยื่อในได้ชัดเจน ความหนาของผิวฟันจนถึงส่วนยอดเนื้อเยื่อในที่วัดได้จากภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟี ของปุ่มด้านแก้มใกล้กลางคือ 3.25 มม. ของปุ่มด้านแก้มใกล้กลางคือ 3.5 มม. และของปุ่มเพดานคือ 4.0 มม. ซึ่งจากระยะที่วัดได้ดังกล่าวน่าจะเกิดการกรอทะลุส่วนยอดเนื้อเยื่อฟันกรอเพื่อเตรียมทำครอบฟัน ดังนั้นจึงวางแผนการรักษาดดยเริ่มรักษาอินเทนซันนอลเอ็นโดดอนต์ก่อนกรอฟันเพื่อเตรียมทำครอบฟัน บทสรุป: จากรายงานผู้ป่วยนี้แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ของการใช้ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีมาเป็นเครื่องมือที่ช่วยประเมินก่อนตัดสินใจรักษาอินเทนซันนอลเอ็นโดดอนต์
วัตถุประสงค์: เพื่อแสดงถึงประโยชน์ของการใช้ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีในการช่วยตัดสินใจก่อนเริ่มการรักษาอินเทนซันนอลเอ็นโดดอนต์ในฟันที่งอกย้อยจากระนาบสบฟันและต้องถูกกรอแต่งเพื่อเตรียมทำครอบฟัน วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: ในบทความนี้รายงานถึงฟันกรามบนซ้ายซี่ที่หนึ่งซึ่งมีภาวะฟันงอก (over-eruption) เลยระนาบสบ และได้ถูกวางแผนการรักษาเพื่อที่จะปรับระดับการสบฟันก่อนเตรียมช่องปากสำหรับทำฟันปลอมแบบถอดได้และจากการกรอในแบบจำลองถอดแบบ (duplicated) พบว่าต้องการกรอฟันที่ปุ่มด้านแก้ม (buccal cusp) ลึกประมาณ 4.0-4.5 มม. และปุ่มเพดาน (palatal cusp) ลึกประมาณ 3.5-4.0 มม. ฟันซี่ดังกล่าวได้รับการถ่ายภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีเพื่อดูรายละเอียดของฟันในระนาบ 3 มิติ ผลการศึกษา: ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีสามารถแสดงจุดสูงสุดของส่วนยอดเนื้อเยื่อในได้ชัดเจน ความหนาของผิวฟันจนถึงส่วนยอดเนื้อเยื่อในที่วัดได้จากภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟี ของปุ่มด้านแก้มใกล้กลางคือ 3.25 มม. ของปุ่มด้านแก้มใกล้กลางคือ 3.5 มม. และของปุ่มเพดานคือ 4.0 มม. ซึ่งจากระยะที่วัดได้ดังกล่าวน่าจะเกิดการกรอทะลุส่วนยอดเนื้อเยื่อฟันกรอเพื่อเตรียมทำครอบฟัน ดังนั้นจึงวางแผนการรักษาดดยเริ่มรักษาอินเทนซันนอลเอ็นโดดอนต์ก่อนกรอฟันเพื่อเตรียมทำครอบฟัน บทสรุป: จากรายงานผู้ป่วยนี้แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ของการใช้ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเต็ดโทโมกราฟีมาเป็นเครื่องมือที่ช่วยประเมินก่อนตัดสินใจรักษาอินเทนซันนอลเอ็นโดดอนต์