Publication: ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารในองค์การและการสนับสนุนทางสังคม
ที่ส่งผลต่อขวัญและกำลังใจในการ ปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานสายสนับสนุน
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.contributor.author | โกเมศ จันทร์เจริญ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-09-12T08:36:07Z | |
dc.date.available | 2017-09-12T08:36:07Z | |
dc.date.created | 2560-09-12 | |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการติดต่อสื่อสารในองค์การกับขวัญกำลังใจในการ ปฏิบัติงานและศึกษาการสนับสนุนทางสังคมในองค์การของผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงานที่มีต่อขวัญกำลังใจใน การปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ปฏิบัติงานสายสนับสนุนของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 175 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วย Correlation Coefficient โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการติดต่อสื่อสารในองค์การแต่ละรูปแบบมีความสัมพันธ์ทางบวกกับขวัญ กำลังใจในการปฏิบัติงาน และพบว่าการได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงานมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานของผู้ปฎิบัติงานสายสนับสนุน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.description.abstract | This research studies the relationships between communication-based behavior and social support in an organization with work moral of officers in faculty of science. It has 2 objectives. First, to study the relationship among four patterns of communication behaviors in an organization between a work morale officer and employees. Second, to study the relationship between social support in an organization the officer received from their supervisor and colleagues and their work morale. The samples of this research were 175 officers in Faculty of Science, Mahidol University. Data analysis revealed the following results 1) Officers who reportedly had high communication behavior in each of the four patterns had a higher positive effect on work morale, and 2) the level of social support received from supervisors and colleagues in the organization had a significant relationship on the level of work morale.. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 1, (ส.ค. 2557), 60-64 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2815 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การติดต่อสื่อสารในองค์การ | en_US |
dc.subject | การสนับสนุนทางสังคม | en_US |
dc.subject | ขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน | en_US |
dc.subject | Journal of Professional Routine to Research | en_US |
dc.subject | วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารในองค์การและการสนับสนุนทางสังคม ที่ส่งผลต่อขวัญและกำลังใจในการ ปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานสายสนับสนุน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.title.alternative | Relationships between Organizational Communication Patterns and Social Support and effects on Work Morale: A Case Study of Officers in the Faculty of Science, Mahidol University | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | http://www.en.mahidol.ac.th/jpr2r/doc/V1_2014/JPR2R%20008-2014.pdf |