Publication: Prevalence and histopathology of Trichogaster pectoralis harbouring metacercaria of Clinostomum piscidium (Southwell and Prashad, 1918) in central Thailand
Issued Date
2014
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-6491
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Veterinary Science Chulalongkorn University
Bibliographic Citation
Thai J Vet Med. Vol.44, No.2 (Jun 2014), 223-230
Suggested Citation
Tawewan Tansatit, Prasert Sobhon, Somphong Sahaphong, Panpanga Sangsuriya, Suriyo Klinsrithong Prevalence and histopathology of Trichogaster pectoralis harbouring metacercaria of Clinostomum piscidium (Southwell and Prashad, 1918) in central Thailand. Thai J Vet Med. Vol.44, No.2 (Jun 2014), 223-230. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1653
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Prevalence and histopathology of Trichogaster pectoralis harbouring metacercaria of Clinostomum piscidium (Southwell and Prashad, 1918) in central Thailand
Alternative Title(s)
ความชุกและจุลพยาธิวิทยาในปลาสลิดที่ติดเมตาเซอร์คาเรีย Clinostomum piscidium ในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย
Abstract
The aim of this study was to identify the digenea in abdominal cavity of Trichogaster pectoralis from two fish farms in Ban Paew District, Samutsakorn Province, Central Thailand, and to investigate the prevalence, intensity and pathological alterations caused by fluke in the host fish. Two hundred and seventy three 8 to 10- month-old T. pectoralis were obtained from two farms (60 females and 75 males from the first and 63 females and 75 males from the second). Their total length and body weight were measured. Metacercariae of Clinostomum piscidium were identified in the body
cavity of T. pectoralis. The parasites were found either free or attached to adipose tissue and external surface of visceral in abdominal cavity of the infected fish. The prevalence and parasite intensities were greater in the females than in the males collected from both farms (p<0.01). The infected fish appeared starved with significantly decreased body weight when compared to the uninfected fish (p<0.01). Gross pathological findings revealed a few white migratory tracks on
hepatic surface. Histologically, the track appeared as central hepatic and pancreatic cells necrosis and hemorrhage surrounded by a layer of macrophages and epithelioid cells, surrounded by a rim of lymphocytes, eosinophilic granular cells and fibroblasts. Eosinophils were in close contact with the fluke’s tegument. The infection with this metacercaria caused hepatic tissue damage which, in turn, interrupted the hepatic metabolism, causing growth retardation and a decrease in body weight of the fish hosts.
จุดประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อจาแนกชนิดของพยาธิที่พบในช่องท้องปลาสลิดและสารวจความชุกของการติดพยาธิ ความหนาแน่นของพยาธิและพยาธิสภาพในปลาสลิดที่ติดพยาธิดังกล่าว โดยศึกษาในปลาสลิดอายุระหว่าง 8-10 เดือนจากฟาร์มปลาจานวน 2 แห่งที่ตั้งอยู่ในอาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ทาการเก็บปลาสลิดจานวน 135 ตัว (เพศเมียจานวน 60 ตัวและเพศผู้จานวน 75 ตัว) จากฟาร์ม 1 และ 138 ตัว (เพศเมียจานวน 63 ตัวและเพศผู้จานวน 75 ตัว) จากฟาร์ม 2 ทาการชั่งน้าหนักและวัดความยาวในปลาทุกตัวและเปิดผ่าซากเพื่อหาพยาธิ การศึกษาพบพยาธิใบไม้ Clinostomum piscidium ระยะเมตาเซอร์คาเรียภายในช่องท้อง โดยพยาธิที่พบไม่มีเปลือกหุ้มและเคลื่อนไหวอย่างเป็นอิสระหรือเกาะที่เนื้อเยื่อไขมันและชั้นนอกของอวัยวะภายในช่องท้อง โดยความชุกของการติดพยาธิและความหนาแน่นของเมตาเซอร์คาเรีย C. piscidium ในปลาสลิดเพศเมียจะมากกว่าในปลาเพศผู้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ปลาที่ติดพยาธิมีรูปร่างแคระแกรนและน้าหนักตัวน้อยกว่าปลาที่ไม่ติดพยาธิโดยมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ การสังเกตพยาธิสภาพด้วยตาเปล่าพบจุดเลือดออกสลับกับหย่อมเนื้อตายเป็นทางสีขาวที่พื้นผิวของตับ การสังเกตพยาธิสภาพโดยกล้องจุลทรรศน์พบช่องขนาดใหญ่ซึ่งเป็นทางที่พยาธิเคลื่อนผ่าน ภายในช่องพบเศษเนื้อตายของเนื้อเยื่อตับและตับอ่อนและเม็ดเลือด ล้อมรอบด้วยชั้นของมาโครฟาจและอีพิทีลิออยด์เซลล์ ชั้นนอกพบเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์ อีโอซิโนฟิลและไฟโบรบลาสต์ และยังพบอีโอซิโนฟิลอยู่ชิดกับชั้นผิวของพยาธิด้วย การติดพยาธิระยะเมตาเซอร์-คาเรียนี้ทาให้มีพยาธิสภาพที่เนื้อเยื่อตับของปลา กระบวนการเมตาบอลิซึมสารอาหารของตับสูญเสียไป ส่งผลให้ปลาที่ขาดสารอาหารมีรูปร่างแคระแกรนและน้าหนักตัวน้อย
จุดประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อจาแนกชนิดของพยาธิที่พบในช่องท้องปลาสลิดและสารวจความชุกของการติดพยาธิ ความหนาแน่นของพยาธิและพยาธิสภาพในปลาสลิดที่ติดพยาธิดังกล่าว โดยศึกษาในปลาสลิดอายุระหว่าง 8-10 เดือนจากฟาร์มปลาจานวน 2 แห่งที่ตั้งอยู่ในอาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ทาการเก็บปลาสลิดจานวน 135 ตัว (เพศเมียจานวน 60 ตัวและเพศผู้จานวน 75 ตัว) จากฟาร์ม 1 และ 138 ตัว (เพศเมียจานวน 63 ตัวและเพศผู้จานวน 75 ตัว) จากฟาร์ม 2 ทาการชั่งน้าหนักและวัดความยาวในปลาทุกตัวและเปิดผ่าซากเพื่อหาพยาธิ การศึกษาพบพยาธิใบไม้ Clinostomum piscidium ระยะเมตาเซอร์คาเรียภายในช่องท้อง โดยพยาธิที่พบไม่มีเปลือกหุ้มและเคลื่อนไหวอย่างเป็นอิสระหรือเกาะที่เนื้อเยื่อไขมันและชั้นนอกของอวัยวะภายในช่องท้อง โดยความชุกของการติดพยาธิและความหนาแน่นของเมตาเซอร์คาเรีย C. piscidium ในปลาสลิดเพศเมียจะมากกว่าในปลาเพศผู้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ปลาที่ติดพยาธิมีรูปร่างแคระแกรนและน้าหนักตัวน้อยกว่าปลาที่ไม่ติดพยาธิโดยมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ การสังเกตพยาธิสภาพด้วยตาเปล่าพบจุดเลือดออกสลับกับหย่อมเนื้อตายเป็นทางสีขาวที่พื้นผิวของตับ การสังเกตพยาธิสภาพโดยกล้องจุลทรรศน์พบช่องขนาดใหญ่ซึ่งเป็นทางที่พยาธิเคลื่อนผ่าน ภายในช่องพบเศษเนื้อตายของเนื้อเยื่อตับและตับอ่อนและเม็ดเลือด ล้อมรอบด้วยชั้นของมาโครฟาจและอีพิทีลิออยด์เซลล์ ชั้นนอกพบเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์ อีโอซิโนฟิลและไฟโบรบลาสต์ และยังพบอีโอซิโนฟิลอยู่ชิดกับชั้นผิวของพยาธิด้วย การติดพยาธิระยะเมตาเซอร์-คาเรียนี้ทาให้มีพยาธิสภาพที่เนื้อเยื่อตับของปลา กระบวนการเมตาบอลิซึมสารอาหารของตับสูญเสียไป ส่งผลให้ปลาที่ขาดสารอาหารมีรูปร่างแคระแกรนและน้าหนักตัวน้อย