Publication: Ethnomedical uses of Thai Annonaceous plant (1)
Issued Date
2003-06
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Pharmacy Mahidol University
Bibliographic Citation
Thai Journal of Phytopharmacy. Vol.10, No.1 (2003), 25-32
Suggested Citation
Wongsatit Chuakul, Noppamas Sornthornchareonon Ethnomedical uses of Thai Annonaceous plant (1). Thai Journal of Phytopharmacy. Vol.10, No.1 (2003), 25-32. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3245
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Ethnomedical uses of Thai Annonaceous plant (1)
Alternative Title(s)
สมุนไพรพื้นบ้านวงศ์น้อยหน่า (๑)
Author(s)
Abstract
A survey on the utilization of medicinal plants at seventeen provinces; i.e. Nan, Sukhothai,
Ubon Ratchathani, Si Sa Ket, Chaiyaphum, Yasothon, Nakhon Ratchasima, Surin, Saraburi, Kanchanaburi,
Chanthaburi, Krabi, Surat Thani, Songkhla, Phattalung, Narathiwat and Yala were carried out by interviewing
herbalists followed by collecting plant specimens and identifying the specimens. In addition, the
plant specimens were compared with the authentic specimens at two herbaria: the Bangkok Herbarium
(BK), Botany Section, Botany and Weed Science Division, Department of Agriculture, and the Royal
Forest Herbarium (BKF), National Park, Wildlife and Plant Conservation Department, Ministry of
National Resources and Environment. Sixty-two medicinal plants of Thai Annonnaceous plants were
recorded from ten provinces in Thailand. Twenty-five genera of these Annonaceae; Alphonsea,
Anaxagorea, Annona, Artabotris, Cananga, Cyathostemma, Dasymaschalon, Desmos, Ellipeia,
Ellipeiopsis, Fissistigma, Friesodielsia, Goniothalamus, Melodorum, Miliusa, Mitreflora,
Monocarpia, Nervopetalum, Orophea, Polyalthia, Pseuduvaria, Rauwenhoffia, Stelechocarpus,
Uvaria and Xylopia and all of these plants were ethnomedicinal used.
ในการสำรวจสมุนไพรพื้นบ้านจากสิบเจ็ดจังหวัดของประเทศไทย คือ น่าน สุโขทัย อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ชัยภูมิ ยโสธร นครราชสีมา สุรินทร์ สระบุรี กาญจนบุรี จันทบุรี กระบี่ สุราษฎร์ธานี สงขลา ปัตตานี นราธิวาส และยะลา โดยการสัมภาษณ์ หมอพื้นบ้านเกี่ยวกับสมุนไพรที่ใช้ ชื่อพื้นเมือง ส่วนที่ใช้ประโยชน์และวิธีใช้พร้อมทั้ง เก็บตัวอย่างสมุนไพรจัดทำเป็น ตัวอย่างพืชแห้ง ตรวจเอกลักษณ์ พืชด้วยรูปวิธานและเปรียบ เทียบตัวอย่างพืชที่พิพิธภัณฑ์พืชกรุงเทพ่ (ตึกสิรินธร) กรมวิชาการเกษตร และหอพรรณไม้ กรมอุทยานสัตว์ป่าและพรรณพืช กระทรวง กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รวบรวม พรรณไม้ได้ทั้งหมด 62 ชนิดจำแนกเป็นพืชใน สกุลวงศ์น้อยหน่า 25 สกุล คือ Alphonsea, Anaxagorea, Annona, Artabotris Cananga, Cyathostemma, Dasymaschalon, Desmos, Ellipeia, Ellipeiopsis, Fissistigma, Friesodielsia, Goniothalamus, Melodorum, Miliusa, Mitreflora, Monocarpia, Nervopetalum,Orophea, Polyalthia,Pseuduvaria, Rauwenhoffia, Stelechocarpus, Uvaria และ Xylopia.
ในการสำรวจสมุนไพรพื้นบ้านจากสิบเจ็ดจังหวัดของประเทศไทย คือ น่าน สุโขทัย อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ชัยภูมิ ยโสธร นครราชสีมา สุรินทร์ สระบุรี กาญจนบุรี จันทบุรี กระบี่ สุราษฎร์ธานี สงขลา ปัตตานี นราธิวาส และยะลา โดยการสัมภาษณ์ หมอพื้นบ้านเกี่ยวกับสมุนไพรที่ใช้ ชื่อพื้นเมือง ส่วนที่ใช้ประโยชน์และวิธีใช้พร้อมทั้ง เก็บตัวอย่างสมุนไพรจัดทำเป็น ตัวอย่างพืชแห้ง ตรวจเอกลักษณ์ พืชด้วยรูปวิธานและเปรียบ เทียบตัวอย่างพืชที่พิพิธภัณฑ์พืชกรุงเทพ่ (ตึกสิรินธร) กรมวิชาการเกษตร และหอพรรณไม้ กรมอุทยานสัตว์ป่าและพรรณพืช กระทรวง กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รวบรวม พรรณไม้ได้ทั้งหมด 62 ชนิดจำแนกเป็นพืชใน สกุลวงศ์น้อยหน่า 25 สกุล คือ Alphonsea, Anaxagorea, Annona, Artabotris Cananga, Cyathostemma, Dasymaschalon, Desmos, Ellipeia, Ellipeiopsis, Fissistigma, Friesodielsia, Goniothalamus, Melodorum, Miliusa, Mitreflora, Monocarpia, Nervopetalum,Orophea, Polyalthia,Pseuduvaria, Rauwenhoffia, Stelechocarpus, Uvaria และ Xylopia.