Publication: ผลของกิจกรรมศิลปะที่มีต่อการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของนักเรียนระดับมัธยมศีกษาที่อยู่ในองค์ประกอบห้องเรียนต่างกัน
Issued Date
2558
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Bibliographic Citation
วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ปีที่ 21, ฉบับที่ 1(2558), 171-200
Suggested Citation
ชัยวัฒน์ ผดุงพงษ์, บัญญัติ ยงย่วน ผลของกิจกรรมศิลปะที่มีต่อการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของนักเรียนระดับมัธยมศีกษาที่อยู่ในองค์ประกอบห้องเรียนต่างกัน. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ปีที่ 21, ฉบับที่ 1(2558), 171-200. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/7515
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลของกิจกรรมศิลปะที่มีต่อการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของนักเรียนระดับมัธยมศีกษาที่อยู่ในองค์ประกอบห้องเรียนต่างกัน
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของ การใช้กิจกรรมศิลปะในบริบทองค์ประกอบของ ห้องเรียนต่างกัน ที่ส่งผลต่อการยอมรับความหลาก หลายวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัดปัตตานี กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนในเขต อำเภอเมืองปัตตานี ประจำปีการศึกษา 2554 จำนวน 115 คน ซึ่งได้มาโดย การสุ่มแบบหลายขั้นตอน ประกอบด้วยห้องเรียน จำนวน 4 ห้อง 1) ห้องเรียนไทย พุทธ-ไทยมุสลิม ได้รับกิจกรรมศิลปะแบบพหุ วัฒนธรรม 2) ห้องเรียนไทยพุทธ-ไทยมุสลิม ได้รับ กิจกรรมศิลปะแบบปกติ 3) ห้องเรียนไทยมุสลิมล้วน ได้รับกิจกรรมศิลปะแบบพหุวัฒนธรรม และ4) ห้องเรียนไทยมุสลิมล้วน ได้รับกิจกรรมศิลปะแบบปกติ แบบแผนการทดลองคือ แบบพหุเหตุปัจจัย แบบมีกลุ่ม ควบคุม และทดสอบหลังการทดลอง เครื่องมือในการิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) แบบวัดการยอมรับความหลากหลาย วัฒนธรรม2) แบบวัดความตระหนักรู้ในวัฒนธรรม 3) แผนการจัดกิจกรรมศิลปะแบบพหุวัฒนธรรม และ 4) แผนการจัดกิจกรรมศิลปะแบบปกติ เวลาที่ใช้ใน การทดลอง คือสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 2 คาบติดต่อกัน ต่อเนื่อง 14 สัปดาห์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนร่วมแบบสองทางพบว่า 1) นักเรียนที่เข้าร่วม กิจกรรมศิลปะแบบพหุวัฒนธรรม และนักเรียนที่เข้าร่วม กิจกรรมศิลปะแบบปกติ มีการยอมรับความหลากหลาย วัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 2) นักเรียนในห้องเรียนไทยพุทธ-มุสลิม และ นักเรียนในห้องเรียนไทยมุสลิมล้วน มีการยอมรับความ หลากหลายวัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 3) ไม่พบกิริยาร่วมระหว่างกิจกรรม ศิลปะ และองค์ประกอบของห้องเรียน
The objective of this research was to study effects of art activities in different types of classrooms on respect for cultural diversity of secondary school students in Pattani province. The sample of this research consisted of 115 secondary school students studying at grade eight of the academic years 2011 in Muang district of Pattani province. They were chosen through multi-stage sampling. These secondary school students were from four classroom types: 1) The Buddhist and Muslim classroom which was treated with multicultural art activities; 2) The Buddhist and Muslim classroom which was treated with traditional art activities; 3) The Muslim classroom which was treated with multicultural art activities and 4) The Muslim classroom which was treated with traditional art activities. The research design was the pretest-posttest control group in factorial design. The research instruments were 1) cultural diversity respect inventory; 2) cultural awareness inventory; 3) multicultural art activities lesson plans and 4) traditional art activities lesson plans. Data analysis was carried out using means, standard deviations, and two-way analysis of covariance. The results were as follows: 1) The respect for cultural diversity of the students treated with multicultural art activities and traditional art activities was found significantly different at .05 level. 2) The respect for cultural diversity of the Muslim classroom students and Buddhist-Muslim classroom students was found significantly different at .05 level and 3) There were no interactive effects between art activities and classroom component.
The objective of this research was to study effects of art activities in different types of classrooms on respect for cultural diversity of secondary school students in Pattani province. The sample of this research consisted of 115 secondary school students studying at grade eight of the academic years 2011 in Muang district of Pattani province. They were chosen through multi-stage sampling. These secondary school students were from four classroom types: 1) The Buddhist and Muslim classroom which was treated with multicultural art activities; 2) The Buddhist and Muslim classroom which was treated with traditional art activities; 3) The Muslim classroom which was treated with multicultural art activities and 4) The Muslim classroom which was treated with traditional art activities. The research design was the pretest-posttest control group in factorial design. The research instruments were 1) cultural diversity respect inventory; 2) cultural awareness inventory; 3) multicultural art activities lesson plans and 4) traditional art activities lesson plans. Data analysis was carried out using means, standard deviations, and two-way analysis of covariance. The results were as follows: 1) The respect for cultural diversity of the students treated with multicultural art activities and traditional art activities was found significantly different at .05 level. 2) The respect for cultural diversity of the Muslim classroom students and Buddhist-Muslim classroom students was found significantly different at .05 level and 3) There were no interactive effects between art activities and classroom component.