ทหารกับคน : บนเส้นทางการสร้างระเบียบวินัยและการต่อต้าน
dc.contributor.advisor | กนกวรรณ ธราวรรณ | |
dc.contributor.advisor | กฤตยา อาชวนิจกุล | |
dc.contributor.author | อิทธิพงษ์ ทองศรีเกตุ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-23T01:30:46Z | |
dc.date.available | 2024-01-23T01:30:46Z | |
dc.date.copyright | 2556 | |
dc.date.created | 2567 | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.description | วิจัยประชากรและสังคม (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556) | |
dc.description.abstract | ทหารกับคน : บนเส้นทางการสร้างระเบียบวินัยและการต่อต้าน ทำการศึกษาด้วยวิธีวิทยาเชิงชาติ พันธุ์วรรณนา ผู้วิจัยได้สมัครเป็นทหารเกณฑ์เพื่อเรียนรู้วัฒนธรรมและวิถีดำเนินชีวิตที่เป็นปัจจัยผลักดันให้เกิด การแสดงออกของความรู้สึกและพฤติกรรมต่าง ๆของทหารเกณฑ์ กำหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษาคือ 1) เพื่อ ศึกษาหลักการปกครองชีวญาณในกลุ่มทหารเกณฑ์ 2) เพื่อศึกษาวิธีการจัดระเบียบวินัยในรูปแบบของการจัด ระเบียบร่างกายแบบอำนาจในตนของทหารเกณฑ์ 3) เพื่อศึกษารูปแบบการต่อต้านระเบียบวินัยที่เข้าไปจัดการกับ ร่างกายของทหารเกณฑ์ ผลการศึกษา พบว่าการปกครองชีวญาณเกิดขึ้นกับทหารเกณฑ์เกิดจากทหารเกณฑ์แต่ละนาย ยอมรับความรู้ชุดหนึ่งมาใส่ร่างกายที่สร้างระเบียบวินัยและการน้อมรับต่อการปฏิบัติที่เกิดขึ้นอย่างไม่มีเงื่อนไข และการต่อรองจนกลายเป็นพฤตินิสัยติดตัวไป การปฏิบัติตามความรู้ที่ตนยอมรับแล้วเกิดขึ้นเสมอแม้ว่าจะมี หรือไม่มีผู้ควบคุม แสดงให้เห็นว่าแท้จริงแล้วอำนาจอยู่ในตน สามารถบงการปกครองได้ด้วยตนเอง นอกจากนี้ยัง พบว่าความมีระเบียบวินัยที่เกิดขึ้นกับทหารเกณฑ์ยังคงอาศัยการแบ่งแยก ปิดกั้น ควบคุมและจัดวางตามตำแหน่ง ระหว่างพื้นที่กับเวลาอย่างเหมาะสม ตารางเวลาระเบียบการปฏิบัติประจำ วันเสมือนเป็นหัวใจสำคัญที่ทำ ให้ทหาร เกณฑ์อยู่ในบรรทัดฐานที่ทุกคนต้องปฏิบัติ ชุดความรู้ของความเป็นทหารทำการส่งผ่านด้วยวิธีการฝึกอันมีวาท กรรมและอำนาจอำพรางอย่างแนบเนียน สุดท้ายผู้วิจัยพบว่าการบังคับควบคุมทำให้เกิด "ร่างกาย"แบบใหม่ร่าง เดิมถูกจำกัดลงเหลือแค่วัตถุชนิดหนึ่ง ยังผลให้การต่อต้านทุกรูปแบบเป็นโมฆะ กล่าวได้ว่าการฝึกทหารเพื่อการสงครามได้ยุติลงพร้อมกับการสถาปนา "ร่าง" ขึ้นมาใหม่ อันเป็น " ร่าง" ที่มีระเบียบวินัยและพร้อมใช้งาน "ร่าง" ที่เกิดขึ้นนี้ได้กลายมาเป็นทรัพย์สินทางชีวภาพและค่าใช้จ่ายที่ สามารถเป็นตัวแทนการจัดการในแง่ของเศรษฐกิจและสังคม อย่างไรก็ตาม ระเบียบวินัยพึงเห็นได้เฉพาะบาง ตำแหน่งแห่งที่ของสถาบันทางสังคม เป็นการผลิตสร้างที่ต้องการครอบครอง ผลิต และส่งขยายวาทกรรมและ อำนาจ ระเบียบวินัยแบบทหารจึงเป็นสิ่งที่บอกว่าเพราะพวกเขาเป็นทหารพวกเขาจึงต้องมีระเบียบวินัย | |
dc.description.abstract | The study on Soldiers and Civilians: Trajectory to Discipline and Resistance was conducted by the ethnographic approach, that is; the Researcher has embedded as a conscript to learn the culture and life encouraging the draftees to express their feelings and behaviors. 1) This research aimed at studying the principle of governmentality in the group of draftees.2) This research also aimed at studying the disciplined organization method for disciplined body in type of internal locus of control among draftees. 3) The third aim of this research was to study the patterns of resistance to the discipline handling the draftees' body. Which found that the governmentality occurred because each soldier accepted a set of knowledge to his disciplined body, and bowed to the practice without any conditions or negotiations as he has believed or accepted in order to explain that when an individual accepts anything and bows to his body with/without doubts it becomes his professional habit; this power would run always although it may or may not be controlled. This shows that selfpower, actually, could be governed by oneself. It's practice for practice. Power may have the origin and disappears eventually. Power exists everywhere, but we may see the functioning of power in some social contexts. It was found that the discipline in draftees depended on separation, blockage, control and positioning between space and time appropriately. The daily drill schedule is the key that forces all soldiers to adhere to the norm. The set of military knowledge is transferred by drills under the discourse, power, and neat concealment. It was found that the force and control form a new body replacing an old one pressed to become an object only. As a result, all types of resistance become void. It may be said that the military drill for warfare comes to the end in the same time of establishing a "new body" that is disciplined and ready for use. This "new body" becomes the bio-asset and cost, which represents the economic and social management. However, the discipline could be seen in some positions of social institutions. It is the creation wishing to occupy, produce, and expand the discourse and power. The military discipline indicates that they are soldiers; so they must adhere to the discipline. | |
dc.format.extent | ก-ญ, 229 แผ่น | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วิจัยประชากรและสังคม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93538 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | ทหาร -- กฎและการปฏิบัติ | |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการทหาร -- ไทย | |
dc.subject | ทหาร -- ไทย -- กิจกรรมทางการเมือง | |
dc.subject | รัฐบาลทหาร -- ไทย | |
dc.subject | ความสัมพันธ์พลเรือน-ทหาร | |
dc.title | ทหารกับคน : บนเส้นทางการสร้างระเบียบวินัยและการต่อต้าน | |
dc.title.alternative | Soldier and civilians : trajectory to discipline and resistance | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2556/cd478/5436517.pdf | |
thesis.degree.department | สถาบันวิจัยประชากรและสังคม | |
thesis.degree.discipline | วิจัยประชากรและสังคม | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |