A study of the complexity of language, script, and identity in Thailand's deep South

dc.contributor.advisorEmeritus Suwilai Premsrirat
dc.contributor.advisorWalter Stephen L.
dc.contributor.advisorIsara Choosri
dc.contributor.authorUniansasmita Samoh
dc.date.accessioned2024-01-03T06:02:09Z
dc.date.available2024-01-03T06:02:09Z
dc.date.copyright2016
dc.date.created2016
dc.date.issued2024
dc.descriptionLinguistics (Mahidol University 2016)
dc.description.abstractThe issue of language, script, and identity in Thailand's Deep South is complex. It is a pivotal topic that could contribute to sustainable peace or long-lasting conflict. Therefore, the purposes of this research were to 1) study and explain the complexity of the use of languages and scripts in the life of people in Thailand's Deep South, 2) study the Patani Malay speakers' complex identities as reflected in their use of each language and script, and 3) study how the issue of language and script are addressed in Mother Tongue-Based Bi/Multilingual Education (MTB-MLE) in pilot schools in Thailand's Deep South. This study used a qualitative research method carried out by using interviews, participant observation, and documentation. The study found that the Patani Malay speaking people in the region possess multiple identities. The languages and scripts used in the region all reflect part of multiple identities. In particular, the Patani Malay reflects their Patani Malay ethnic identity, Standard Thai reflects their Thai national identity (Thai citizens), Classical Malay (Jawi script), Central Malay (Jawi script), and Arabic reflects their Islamic identity, and Standard Malay (Rumi script) reflects their Malay world/Nusantara identity. Problems related to identity have contributed to conflict in this area for over a decade. The Patani Malay-Thai Bi/Multilingual Education project was introduced to addressed language, script, and identity issue with its ultimate goals to help bring about national reconciliation and quality education to the Patani Malay speaking children. The Patani Malay status has been raised as a language of instruction in early year for cognitive development before bridging to Thai. The Standard Malay (Jawi and Rumi script) were introduced in grade 3-6 to prepared the students as a member of the Malay world/Nusantara. This approach has addressed the long-standing issue. In general, the results were satisfactory among children, teachers, parents, and community involved.
dc.description.abstractประเด็นภาษา อักษร และอัตลักษณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความซับซ้อนและเป็นประเด็นสำคัญที่สามารถนำไปสู่สันติภาพที่ยั่งยืนหรือความขัดแย้งที่ถาวร วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยนี้ เพื่อ 1) ศึกษาและอธิบายความซับซ้อนของการใช้ภาษาและอักษรต่างๆ ในชีวิตของคนในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ 2) ศึกษาความซับซ้อนของอัตลักษณ์ของคนมลายูปาตานีที่สะท้อนจากการใช้ภาษาและอักษรต่างๆ และ 3) ศึกษาวิธีการนำภาษาและ อักษรต่างๆ ไป ใช้ในการจัดการเรียนการสอน แบบทวิพหุภาษา ในโรงเรียนนำ ร่องในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การศึกษาวิจัยนี้ใช้วิธีการเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและการศึกษาวิจัยเอกสารจากการศึกษาวิจัยพบว่า คนมลายูปาตานีในพื้นจังหวัดชายแดนภาคใต้มี ความเป็นพหุอัตลักษณ์ ภาษาและอักษรต่างๆ ที่มีการใช้อยู่ในพื้นที่ล้วนสะท้อนถึงความเป็นพหุอัตลักษณ์ กล่าวคือ ภาษามลายูปาตานีสะท้อนถึงอัตลักษณ์ความเป็นชาติพันธุ์มลายูปาตานี ในขณะที่ภาษาไทยสะท้อนถึงอัตลักษณ์ความเป็น(ชาติ)ไทยหรือพลเมืองไทย สำหรับภาษามลายูคลาสสิค (อักษรยาวี) ภาษามลายูกลาง (อักษรยาวี) และภาษาอาหรับสะท้อนถึงอัตลักษณ์ความเป็นอิสลามหรือมุสลิม และภาษามลายูมาตรฐาน (อักษรรูมี ) สะท้อนถึงอัตลักษณ์ ของการเป็นส่วนหนึ่งของ โลกมลายูหรือนูซันตารา ทั้งนี้ปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอัตลักษณ์ก่อให้เกิดความขัดแย้งขึ้นในพื้นที่นี้มาเป็นระยะเวลานาน โครงการ "การจัดการเรียนการสอนแบบทวิ-พหุภาษา" ได้มีการดำเนินงานขึ้นมา เพื่อนำเสนอประเด็นภาษา อักษรและอัตลักษณ์ พร้อมกับมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อ ช่วยนำพาความสมานฉันท์และ การศึกษาที่มีคุณภาพแก่เด็ก มลายูปาตานี การดำเนินงานโครงการฯ นี้ ได้ ยกสถานะ ภาษามลายูปาตานีโดยการ ใช้ภาษาดังกล่าว เป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอนในช่วงปี แรกๆ ของการเรียน เพื่อพัฒนาสติปัญญาให้แก่เด็กก่อนที่จะเชื่อมโยงไปสู่ภาษาไทย ในลำดับต่อไป ขณะที่ภาษามลายูมาตรฐาน (อักษรยาวีและรูมี) ได้มีการจัดการเรียนการ สอนในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3-6 เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับเด็กสู่การก้าวเป็นส่วนหนึ่งของโลกมลายูหรือนูซันตารา วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบทวิ-พหุภาษานี้ได้นำ เสนอประเด็นเรื้อรังที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ซึ่งในภาพรวมถือว่าผลเป็นที่น่าพอใจทั้งกับเด็ก ครู ผู้สอน พ่อแม่ผู้ปกครองและชุมชนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
dc.format.extentxvii, 217 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2016
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91665
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectMultilingualism -- Social aspects -- Case studies
dc.subjectJawi alphabet
dc.subjectMalay language -- Alphabet
dc.subjectEducation, Bilingual -- Thailand
dc.titleA study of the complexity of language, script, and identity in Thailand's deep South
dc.title.alternativeการศึกษาความซับซ้อนของภาษา อักษร และอัตลักษณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/544/5336572.pdf
thesis.degree.departmentMahidol University. Research Institute for Languages and Cultures of Asia
thesis.degree.disciplineLinguistics
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelDoctoral Degree
thesis.degree.nameDoctor of Philosophy

Files

Collections