Semantic ontology for fine arts knowledge management
dc.contributor.advisor | Sotarat Thammaboosadee | |
dc.contributor.advisor | Supaporn Kiattisin | |
dc.contributor.advisor | Taweesak Samanchuen | |
dc.contributor.author | Wassana Ouppala | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T04:07:01Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T04:07:01Z | |
dc.date.copyright | 2015 | |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 2015 | |
dc.description | Information Technology Management (Mahidol University 2015) | |
dc.description.abstract | Currently, the term "Fine Art" is on the verge of disappearing in Thailand due to the influence of modern technology, which has come to replace the traditional ways of Thai culture, especially the advanced technology of communications and the internet. The knowledge of fine arts has suffered as a consequence of the advances in the technologies of the internet and communications. It is a very noticeable difference, when comparing to the past and the present, in terms of the knowledge of fine arts. The objective of this research is to create/develop an ontology to in order retrieve the knowledge of fine arts and to present semantic knowledge. The subjects of the study were entire classes consisting of 51 subjects. There were also 11 relationships in the form of part-of, has-a, and is-a, showing the benefits they have gained from this research. Those who are interested in fine arts can access the knowledge of fine arts with a high accuracy and it will be more comprehensive. According to the assessment of the ontology, via web applications from specialists and general users, the satisfaction result of those getting 4.41 was in the good level. | |
dc.description.abstract | ปัจจุบันคาว่า "วิจิตรศิลป์" กำลังจะถูกเลือนหายไปจากสังคมไทย เมื่อถูกอิทธิพลทาง เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาแทนที่สังคมเก่าของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโลกแห่งการสื่อสาร หรืออินเตอร์เน็ตได้ก้าวไปล้ำยุคมาก ความรู้ด้านวิจิตรศิลป์กลับไม่ก้าวตามโลกแห่งการสื่อสารนี้ด้วย จนทำให้เกิดความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเปรียบเทียบกับสมัยอดีต งานวิจัยนี้ จึงมีแนวคิดริเริ่มที่จะพัฒนาโดเมนออนโทโลยีด้านงานวิจิตรศิลป์ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการความรู้และออกแบบออนโทโลยีด้านงานวิจิตรศิลป์ และนำเสนอออนโทโลยีที่ได้ ผ่านพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่น ให้ผู้สนใจในงานวิจิตรศิลป์ และบุคคลทั่วไป สามารถเข้าถึงความรู้ด้านงานวิจิตรศิลป์ตามที่ต้องการและถูกต้องมากที่สุด จากผลการการศึกษาสรุปได้ว่า มี คลาส ทั้งหมด 51 องค์ประกอบ และ มีความสัมพันธ์ทั้งหมด 11 ความสัมพันธ์ ซึ่งความสัมพันธ์จะอยู่ในรูปแบบ part-of has-a และ is-a ซึ่งประโยชน์ที่จะได้รับจากวิจัยนี้ คือ ได้รูปแบบฐานความรู้เชิงความหมายของงานวิจิตรศิลป์ที่เหมาะสม และผู้สนใจในงานวิจิตรศิลป์ และบุคคลทั่วไป สามารถเข้าถึงความรู้ด้านงานวิจิตรศิลป์ ตามที่ต้องการและถูกต้องมากที่สุดตามต้นแบบที่วางไว้ได้ จากการประเมินออนโทโลยีผ่านช่องทางเว็บแอพพลิเคชั่นจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ใช้ทั่วไป คะแนนความพึงพอใจที่ 4.41 ซึ่งอยู่ในระดับดี | |
dc.format.extent | ix, 40 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2015 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94096 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Fine Arts | |
dc.subject | Ontology | |
dc.title | Semantic ontology for fine arts knowledge management | |
dc.title.alternative | ออนโทโลยีเชิงความหมายสำหรับการจัดการความรู้ด้านวิจิตรศิลป์ | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2558/505/5737274.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Engineering | |
thesis.degree.discipline | Information Technology Management | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |