The effectiveness of role development to improve singing in musical theatre's repertoire among Thai female students
Issued Date
2017
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 83 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.M. (Music))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Chutimta Puttikulangkura The effectiveness of role development to improve singing in musical theatre's repertoire among Thai female students. Thematic Paper (M.M. (Music))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92363
Title
The effectiveness of role development to improve singing in musical theatre's repertoire among Thai female students
Alternative Title(s)
ประสิทธิผลของการนำกระบวนการทางละครมาใช้พัฒนาการร้องเพลงตามบทบาทจากละครเพลงในนักศึกษาหญิงชาวไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This thematic paper looks at developing and testing the effectiveness of the teaching method using role development to improve singing for Thai female students. This study incorporated experimental and mixed method design to create and prove the teaching method's effectiveness. Researcher collected information focused on singing and acting exercises from researcher's experience, books, and studies to create the teaching method. Six lesson- workshop was set up for three weeks. The participants were Thai students studying musical theatre major. The activities in the workshop followed a course outline consisting of pre-/posttest, group exercises, discussions, and paper assignment. The effectiveness of the teaching method was tested using pre-/posttest's scores evaluated by three experts, researcher, researcher's observation, and participants' journals. The participants' posttest results proved that the role development is an effective tool to develop student's singing in musical theatre contrasting repertoire. This teaching method is recommended to be applied to musical theatre education in Thailand.
สารนิพนธ์เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาและทดสอบประสิทธิภาพของแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเทคนิคการขับร้องละครเพลงสำหรับนักศึกษาหญิงชาวไทยโดยใช้กระบวนการทางละคร การวิจัยนี้ได้ใช้การวิจัยแบบกึ่งทดลองและแบบผสมผสาน จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาแบบการเรียนการสอนเพื่อสร้างแบบการเรียนการสอนและเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของแบบการเรียนการสอนนี้ โดยผู้วิจัยได้รวบรวมกิจกรรมและแบบฝึกหัดสำหรับการขับร้องและการแสดงจากประสบการณ์ของผู้วิจัย หนังสือ และงานวิจัยต่างๆ ในการสร้างแบบการเรียนการสอนนี้ ผู้วิจัยได้จัดการอบรม จำนวน 6 ครั้ง โดยใช้ระยะเวลา 3 อาทิตย์ ผู้เข้าร่วมวิจัยได้แก่ นักศึกษาเพศหญิงชาวไทยที่เรียนเกี่ยวกับการแสดงละครเพลง กิจกรรมในการอบรมจัดทำขึ้นตามกิจกรรมที่ระบุในรายละเอียดของหลักสูตร ซึ่งได้แก่ การทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน กิจกรรมกลุ่ม การอภิปราย และเอกสาร การทดสอบประสิทธิภาพของแบบการเรียนการสอนทำโดยการวัดคะแนนทดสอบปฏิบัติก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เข้าร่วมวิจัย ซึ่งทำการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิสามท่านและผู้วิจัย การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนโดยผู้วิจัย และชุดคำถามสาหรับบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ประจำวันของผู้เข้าร่วมวิจัย จากคะแนนจากการทดสอบหลังเรียนของผู้เข้าร่วมวิจัย ทำให้วิจัยนี้ได้ผลลัพธ์ว่า กระบวนการทางละครมีประสิทธิผลเกี่ยวเนื่องต่อการพัฒนาเทคนิคการขับร้องละครเพลงต่างรูปแบบในนักเรียนหญิงชาวไทย และแบบการเรียนการสอนนี้ควรได้รับการนำไปประยุกต์ใช้ ในการเรียนการสอนละครเพลงในประเทศไทย
สารนิพนธ์เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาและทดสอบประสิทธิภาพของแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเทคนิคการขับร้องละครเพลงสำหรับนักศึกษาหญิงชาวไทยโดยใช้กระบวนการทางละคร การวิจัยนี้ได้ใช้การวิจัยแบบกึ่งทดลองและแบบผสมผสาน จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาแบบการเรียนการสอนเพื่อสร้างแบบการเรียนการสอนและเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของแบบการเรียนการสอนนี้ โดยผู้วิจัยได้รวบรวมกิจกรรมและแบบฝึกหัดสำหรับการขับร้องและการแสดงจากประสบการณ์ของผู้วิจัย หนังสือ และงานวิจัยต่างๆ ในการสร้างแบบการเรียนการสอนนี้ ผู้วิจัยได้จัดการอบรม จำนวน 6 ครั้ง โดยใช้ระยะเวลา 3 อาทิตย์ ผู้เข้าร่วมวิจัยได้แก่ นักศึกษาเพศหญิงชาวไทยที่เรียนเกี่ยวกับการแสดงละครเพลง กิจกรรมในการอบรมจัดทำขึ้นตามกิจกรรมที่ระบุในรายละเอียดของหลักสูตร ซึ่งได้แก่ การทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน กิจกรรมกลุ่ม การอภิปราย และเอกสาร การทดสอบประสิทธิภาพของแบบการเรียนการสอนทำโดยการวัดคะแนนทดสอบปฏิบัติก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เข้าร่วมวิจัย ซึ่งทำการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิสามท่านและผู้วิจัย การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนโดยผู้วิจัย และชุดคำถามสาหรับบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ประจำวันของผู้เข้าร่วมวิจัย จากคะแนนจากการทดสอบหลังเรียนของผู้เข้าร่วมวิจัย ทำให้วิจัยนี้ได้ผลลัพธ์ว่า กระบวนการทางละครมีประสิทธิผลเกี่ยวเนื่องต่อการพัฒนาเทคนิคการขับร้องละครเพลงต่างรูปแบบในนักเรียนหญิงชาวไทย และแบบการเรียนการสอนนี้ควรได้รับการนำไปประยุกต์ใช้ ในการเรียนการสอนละครเพลงในประเทศไทย
Description
Music (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Music
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Music
Degree Discipline
Music
Degree Grantor(s)
Mahidol University