มารยาทการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของคนไทย
Issued Date
2567
Copyright Date
2563
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 140 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563
Suggested Citation
คุณากร คงจันทร์ มารยาทการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของคนไทย . วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92007
Title
มารยาทการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของคนไทย
Alternative Title(s)
Communication etiquette for Thais' usage of social media
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
ความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์ โดยเฉพาะด้านการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของคนไทยกำลังดำเนินไปตามวิถีเทคโนโลยีพลิกผัน อิสรภาพในการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างไร้ขอบเขตทำ ให้เกิดการสื่อสารที่ไม่เหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย งานวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาพฤติกรรมและมารยาทการสื่อสารในสื่อสังคมออนไลน์ของคนไทยว่ามีลักษณะอย่างไรมารยาทการสื่อสารในสื่อสังคมออนไลน์สอดคล้องหรือแตกต่างกับในชีวิตจริงอย่างไร และควรมีแนวทางใดในการประยุกต์มารยาทในชีวิตจริงเพื่อใช้ในสังคมออนไลน์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเก็บข้อมูลโดยการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ในเฟซบุ๊กแฟนเพจข่าวสด และการสัมภาษณ์เชิงลึกในกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นคนไทยที่ใช้งานเฟซบุ๊ก โดยการคัดเลือกแบบบังเอิญ จำนวน 40 คน เกี่ยวกับพฤติกรรมและมารยาทการสื่อสารผ่านเฟซบุ๊ก และวิเคราะห์ข้อมูลตามหลักการของการศึกษาปรากฏการณ์วิทยาในแนวอรรถปริวัตร โดยผลการวิจัยพบว่า 1) มีพฤติกรรมการสื่อสาร 2 แนวทาง คือ ด้านการงาน และ ด้านอารมณ์-สังคม 2) มารยาทการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่พบนั้น มีความลื่นไหลแต่มีความเชื่อมโยงกับมิติทางวัฒนธรรมของ Geert Hofstede 3) มารยาทการสื่อสารในชีวิตจริงจะสอดคล้องกับในสื่อสังคมออนไลน์ก็ต่อเมื่อมีการเปิดเผยตัวตนในสื่อสังคมออนไลน์ 4) กลุ่มตัวอย่างเชื่อว่าการปลูกฝังมารยาทการสื่อสารในชีวิตจริงจะทำให้สื่อสารในสื่อสังคมออนไลน์ได้อย่างมีมารยาท โดยผู้วิจัยขอเสนอแนะให้ศึกษาเจาะลึกถึงเหตุผลของการแสดงพฤติกรรม และศึกษาการให้ความหมายคำว่า "มารยาท" ในแต่ละกลุ่มอายุ อาชีพ หรืออื่น ๆ โดยใช้หลักการศึกษาปรากฏการณ์นิยมแบบอรรถปริวัตร ซึ่งอาจทำให้เข้าใจมารยาทการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของคนไทยดียิ่งขึ้น
Cultural changes in the globalization era, especially on Thais' social media communication with disruptive technology and borderless freedom led to inappropriate communication in Thai culture. This research aimed to study Thais' social network communication behavior and etiquette whether their social media communication etiquette was similar or different from reality, and what shall be the guideline to apply real-life manner into social media. This qualitative research collected data by non-participant observation from Kaosod's Facebook fan page and in-depth interview. Samples were 40 Thai Facebook users selected by accidental sampling method based on their communication behavior and etiquette on Facebook. Data analysis was done based on Hermeneutic Phenomenology principle. Research results showed that 1) there were two forms of communication: work and socioemotional; 2) social media communication etiquette was dynamic and linked to the cultural dimensions according to Geert Hofstede; 3) the real-life communication etiquette would be used on social media only if the users disclosed their identity; and, 4) the sample group that being raised with communication manner, in reality, was believed to have good communication etiquette on a social network. In this regard, it is suggested to use the principle of the study of phenomena in the context of the study in depth in each group in society such as age group or professional group for better understanding
Cultural changes in the globalization era, especially on Thais' social media communication with disruptive technology and borderless freedom led to inappropriate communication in Thai culture. This research aimed to study Thais' social network communication behavior and etiquette whether their social media communication etiquette was similar or different from reality, and what shall be the guideline to apply real-life manner into social media. This qualitative research collected data by non-participant observation from Kaosod's Facebook fan page and in-depth interview. Samples were 40 Thai Facebook users selected by accidental sampling method based on their communication behavior and etiquette on Facebook. Data analysis was done based on Hermeneutic Phenomenology principle. Research results showed that 1) there were two forms of communication: work and socioemotional; 2) social media communication etiquette was dynamic and linked to the cultural dimensions according to Geert Hofstede; 3) the real-life communication etiquette would be used on social media only if the users disclosed their identity; and, 4) the sample group that being raised with communication manner, in reality, was believed to have good communication etiquette on a social network. In this regard, it is suggested to use the principle of the study of phenomena in the context of the study in depth in each group in society such as age group or professional group for better understanding
Description
ภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (มหาวิทยาลัยมหิดล 2563)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
ภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล