Studies on the effect of inhibiting factor-hypoxanthine on the in vitro maturation of bovine oocytes using light and transmission electron microscopy
Issued Date
2023
Copyright Date
2000
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xv, 110 leaves : ill. (some col.)
ISBN
9743460187
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Anatomy))--Mahidol University, 2000
Suggested Citation
Busaba Panyarachun Studies on the effect of inhibiting factor-hypoxanthine on the in vitro maturation of bovine oocytes using light and transmission electron microscopy. Thesis (Ph.D. (Anatomy))--Mahidol University, 2000. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/88448
Title
Studies on the effect of inhibiting factor-hypoxanthine on the in vitro maturation of bovine oocytes using light and transmission electron microscopy
Alternative Title(s)
การศึกษาสารยับยั้งที่มีผลต่อการสุกของไข่วัวในจานแก้วโดยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาและจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องผ่าน
Author(s)
Abstract
The inhibitory effects of hypoxanthine (HX) on nuclear and cytoplasmic maturation of cumulus bovine oocyte complexes (COCs) were studied by light and transmission electron microscopy (LM and TEM). COCs were exposed to 4 mM HX in TCM 199 for 0,8,16 and 24 h. Nuclear stages during maturation of normal oocytes occur during various time were compared with those oocytes treated with HX in the same intervals. To study the reversibility of HX action, COCs were washed out of HX after 24 h treatment and re-cultured in the inhibitory-free culture medium (TCM 199) for 24 h. At 0,8,16 and 24 h of HX treatment, the percentages of oocytes in GV stage were 95, 93, 81 and 76, respectively whereas in the untreated group, all oocytes underwent GVBD by 8 h culture. GVBD occurred completely after 5 h incubation which was twice as fast as in the control medium (9 h). However, seventy-six percent of oocytes could reach rnetaphase II (M II) after 24 h incubation whereas 80% of control oocytes reached M II. However, the percentages of oocytes reaching M II in both groups at 24 h were not statistically significant. The morphological study at the beginning of treatment with HX (0 h) showed that GV was intact without chromosome condensation. But after 8,16 and 24 h treatments, oocytes were maintained in the GV stage with condensed chromosome and normal intact nuclear membrane. During the maturation period, the oocytes underwent a series of clearly defined nuclear meiotic events. Oocyte maturation was also characterized by cytoplasmic changes. The cortical granules (CG) were composed of heterogenous and homogenous particles demonstrated by both the different electron densities and the different sizes similar to those immature oocytes. In contrast, the oocytes after washing out of HX and recultured in control medium. There were more dense electron particles and similar size granules as observed in the normal mature oocytes. These results indicated that 4 mM HX could inhibit the nuclear membrane breakdown but it could not prevent chromosome
การศึกษาสารยับยั้ง, Hypoxanthine (HX) ที่มีผลต่อการเจริญของนิวเคลียสและไซโต พลาสซึมของไข่วัวด้วยกรรมวิธีทางจุลทรรศน์ธรรมดาและจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องผ่าน มีการ ประเมินผลไข่ที่ได้รับการเพาะเลี้ยงในน้ำยาที่มีสาร HX โดยดูระยะของนิวเคลียสทุกช่วงเวลา 0,8,16, และ 24 ชั่วโมง ในชั่วโมงที่ 8 ของการเพาะเลี้ยงในน้ำยาที่มีสาร HX พบว่า ระยะ นิวเคลียสของไข่อยู่ในระยะ germinal vesicle (GV) 93% ในชั่วโมงที่ 16 และ 24 พบว่า HX ไม่สามารถยับยั้งระยะการเจริญของนิวเคลียสให้อยู่เฉพาะในระยะ GV เท่านั้น ไข่ 13% และ 17% สามารถเจริญไปอยู่ในระยะ germinal vesicle breakdown (GVBD) ได้ตามลำดับ ในการศึกษาการ ผันกลับฤทธิ์ของสาร HX ไข่ที่ได้รับการเฉพาะเลี้ยงในน้ำยาที่มีสาร HX เป็นเวลา 24 ชั่วโมง นำมาล้างและทำการเพาะเลี้ยงต่อในน้ำยาปกติที่ไม่มีสาร HX เป็นเวลา 24 ชั่วโมงพบว่า เกิด GVBD อย่างรวดเร็วในชั่วโมงที่ 5 ของการเพาะเลี้ยง ในขณะที่ไข่ปกติจะเกิด GVBD ในชั่วโมง ที่ 9 ซึ่งเร็วเกือบเป็น 2 เท่าของไข่ในกลุ่มควบคุม นอกจากนี้ไข่ในกลุ่มที่ล้าง HX ออก สามารถเจริญและสุกถึงระยะ metaphase II 76% ในขณะที่ไข่ในกลุ่มควบคุมสุก 80% ในชั่วโมง ที่ 24 ในช่วงเวลา 8,16 และ 24 ชั่วโมงของการเพาะเลี้ยงในสาร HX พบว่า มีการเกิด chromosome condensation ขึ้นใน GV โดยที่เยื่อหุ้มนิวเคลียสยังปกติ ส่วนไข่ที่ถูกยับยั้งด้วยสาร HX เป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบกลุ่มของคอร์ติคอลแกรนูลที่ประกอบด้วยสารเนื้อเดียวกันและสารเนื้อ ผสม และมีขนาดแตกต่างกัน ลักษณะนี้พบได้ในคอร์ติคอลแกรนูลในไข่ปกติที่ยังไม่สุก เมื่อนำ ไข่กลุ่มนี้มาล้างและเพาะเลี้ยงต่อในน้ำยาปกติ พบว่า ลักษณะของคอร์ติคอลแกรนูลจะเรียง ตัวกันเป็นแนวเดียวและติดสีเข้ม ซึ่งลักษณะเช่นนี้พบได้ในคอร์ติคอลแกรนูลในไข่ปกติที่สุก แล้ว จากการวิจัยพบว่าสาร HX สามารถยับยั้งการสลายของเยื่อหุ้มนิวเคลียส แต่ไม่สามารถ ป้องกันการเกิด chromosome condensation และยับยั้งการเจริญของคอร์ติคอลแกรนูลในขณะที่ การเปลี่ยนแปลงของออร์กาแนลอื่นๆในไซโตพลาสซึมไม่ปรากฎเด่นชัด ไข่ที่ถูกยับยั้งด้วยสาร HX เมื่อนำมาเพาะเลี้ยง ภายหลังจากล้าง HX ออก สามารถสุกถึงระยะ M II ได้ตามปกติ การศึกษา การสุกของไข่ทั้งในนิวเคลียสและไซโตพลาสซึมที่เพาะเลี้ยงด้วยHX และภายหลังการล้างออกของ HX ได้ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน นอกจากนี้ยังสามารถศึกษาระยะนิวเคลียสและคอร์ติ คอลแกรนูลได้พร้อมกันในเวลาเดียวกันด้วยกล้อง confocal laser scanning microscope
การศึกษาสารยับยั้ง, Hypoxanthine (HX) ที่มีผลต่อการเจริญของนิวเคลียสและไซโต พลาสซึมของไข่วัวด้วยกรรมวิธีทางจุลทรรศน์ธรรมดาและจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องผ่าน มีการ ประเมินผลไข่ที่ได้รับการเพาะเลี้ยงในน้ำยาที่มีสาร HX โดยดูระยะของนิวเคลียสทุกช่วงเวลา 0,8,16, และ 24 ชั่วโมง ในชั่วโมงที่ 8 ของการเพาะเลี้ยงในน้ำยาที่มีสาร HX พบว่า ระยะ นิวเคลียสของไข่อยู่ในระยะ germinal vesicle (GV) 93% ในชั่วโมงที่ 16 และ 24 พบว่า HX ไม่สามารถยับยั้งระยะการเจริญของนิวเคลียสให้อยู่เฉพาะในระยะ GV เท่านั้น ไข่ 13% และ 17% สามารถเจริญไปอยู่ในระยะ germinal vesicle breakdown (GVBD) ได้ตามลำดับ ในการศึกษาการ ผันกลับฤทธิ์ของสาร HX ไข่ที่ได้รับการเฉพาะเลี้ยงในน้ำยาที่มีสาร HX เป็นเวลา 24 ชั่วโมง นำมาล้างและทำการเพาะเลี้ยงต่อในน้ำยาปกติที่ไม่มีสาร HX เป็นเวลา 24 ชั่วโมงพบว่า เกิด GVBD อย่างรวดเร็วในชั่วโมงที่ 5 ของการเพาะเลี้ยง ในขณะที่ไข่ปกติจะเกิด GVBD ในชั่วโมง ที่ 9 ซึ่งเร็วเกือบเป็น 2 เท่าของไข่ในกลุ่มควบคุม นอกจากนี้ไข่ในกลุ่มที่ล้าง HX ออก สามารถเจริญและสุกถึงระยะ metaphase II 76% ในขณะที่ไข่ในกลุ่มควบคุมสุก 80% ในชั่วโมง ที่ 24 ในช่วงเวลา 8,16 และ 24 ชั่วโมงของการเพาะเลี้ยงในสาร HX พบว่า มีการเกิด chromosome condensation ขึ้นใน GV โดยที่เยื่อหุ้มนิวเคลียสยังปกติ ส่วนไข่ที่ถูกยับยั้งด้วยสาร HX เป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบกลุ่มของคอร์ติคอลแกรนูลที่ประกอบด้วยสารเนื้อเดียวกันและสารเนื้อ ผสม และมีขนาดแตกต่างกัน ลักษณะนี้พบได้ในคอร์ติคอลแกรนูลในไข่ปกติที่ยังไม่สุก เมื่อนำ ไข่กลุ่มนี้มาล้างและเพาะเลี้ยงต่อในน้ำยาปกติ พบว่า ลักษณะของคอร์ติคอลแกรนูลจะเรียง ตัวกันเป็นแนวเดียวและติดสีเข้ม ซึ่งลักษณะเช่นนี้พบได้ในคอร์ติคอลแกรนูลในไข่ปกติที่สุก แล้ว จากการวิจัยพบว่าสาร HX สามารถยับยั้งการสลายของเยื่อหุ้มนิวเคลียส แต่ไม่สามารถ ป้องกันการเกิด chromosome condensation และยับยั้งการเจริญของคอร์ติคอลแกรนูลในขณะที่ การเปลี่ยนแปลงของออร์กาแนลอื่นๆในไซโตพลาสซึมไม่ปรากฎเด่นชัด ไข่ที่ถูกยับยั้งด้วยสาร HX เมื่อนำมาเพาะเลี้ยง ภายหลังจากล้าง HX ออก สามารถสุกถึงระยะ M II ได้ตามปกติ การศึกษา การสุกของไข่ทั้งในนิวเคลียสและไซโตพลาสซึมที่เพาะเลี้ยงด้วยHX และภายหลังการล้างออกของ HX ได้ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน นอกจากนี้ยังสามารถศึกษาระยะนิวเคลียสและคอร์ติ คอลแกรนูลได้พร้อมกันในเวลาเดียวกันด้วยกล้อง confocal laser scanning microscope
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Anatomy
Degree Grantor(s)
Mahidol University