Food, vulnerability and deafness : illness experience of villagers in a North-Eastern province of Thailand
Issued Date
2023
Copyright Date
2015
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix ,220 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Medical and Health Social Sciences))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Prabda Praphasiri Food, vulnerability and deafness : illness experience of villagers in a North-Eastern province of Thailand. Thesis (Ph.D. (Medical and Health Social Sciences))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89728
Title
Food, vulnerability and deafness : illness experience of villagers in a North-Eastern province of Thailand
Alternative Title(s)
อาหาร ภาวะเปราะบาง และประสบการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคหูดับของชาวบ้านในจังหวัดแห่งหนึ่งในภาคอิสาน
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Streptococcus suis causes a zoonotic disease in humans that can lead to the complications of permanent hearing loss and even death. This research aims to determine the social and cultural vulnerabilities related to the disease and also study the illness experience of villagers in one sub-district of a north-eastern province of Thailand. This ethnographic study was carried out between August 2014 and June 2015. Out of nine infected villagers, aged in the range of 34-69 years, six were male. The patients presented themselves to the hospital with symptoms of meningitis (7), septicaemia (1), and arthritis (1). Eight of them had completed primary school. Farming was their main profession, and all of them identified themselves as poor. A close proximity of the patients with pig-rearing, killing, and preparing food with bare hands, and eating raw or undercooked pork, was reported. A major role in the disease process was seen to be played by food beliefs, which were found to link to gender and social status. The multiple roles of women in the forms of mother, wife, and caretaker increased their vulnerability to this disease. On the other hand, men based their lives on the ideals of masculinity, which accounted for their carelessness and sexuality. Alcohol drinking gave an outlet for fun and friendship, to display bold, courageous behaviour and also to relieve themselves from their daily struggles, for both men and women. Some of these patients were stigmatised as "deaf" while some lost their jobs. These patients gave meanings to the disease such as "karma" and "because I am poor". These findings indicate that culture can mask the truth, and vulnerability increases the risk of the disease that results in suffering which, in turn, increases vulnerability again.
โรคหูดับเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เป็นโรคติดเชื้อจากสัตว์สู่คน มีความรุนแรงจนทำให้ถึงกับ เสียชีวิตและเกิดความภาวะแทรกซ้อนคือ หูหนวก การศึกษาครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงภาวะเปราะบางด้านสังคมและวัฒนธรรม ที่ส่งผลต่อการเกิดโรคหูดับ และเพื่อศึกษาประสบการณ์การเจ็บป่วยของชาวบ้านที่ติดเชื้อโรคหูดับ ทำการศึกษาในหนึ่งตำบล ในจังหวัดแห่งหนึ่งในภาคอีสาน ระหว่างสิงหาคม 2557 ถึง มิถุนายน 2558 ใช้วิธีการศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณา ผลการศึกษา มีชาวบ้านที่ป่วยทั้งหมด 9 คนเป็นผู้ชาย 6 คน มีอายุระหว่าง 34 ปี ถึง 69 ปี จบการศึกษาในระดับประถม 8 คน มีอาชีพทำนามีชาวบ้าน ชาวบ้านที่ป่วยทุกคนบอกว่าตัวเองเป็นคนจนผู้หญิงที่ต้องทำหน้าที่ภรรยา แม่ และเป็นผู้ดูแลทำให้ผู้หญิงมีความเปราะบางมากกว่าผู้ชาย ขณะที่ผู้ชายมีแนวคิดของความเป็นชายที่ทำให้ใช้ชีวิตอยู่บนความคึกคะนอง ในเรื่องเพศวิถี มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคและการบาดเจ็บ ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ใช้การดื่มสุราเพื่อความสนุก สร้างกลุ่มเพื่อน ลดความอาย สร้างความกล้า รวมทั้งเพื่อเป็นการระบายความทุกข์ ความเชื่อเรื่องอาหารแสดงถึงปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีนัยถึงความเป็นหญิงชายและตำแหน่งแห่งที่ในสังคม ชาวบ้านข้องเกี่ยวกับหมูอยู่สามรูปแบบ คือ การฆ่าชำแหละหมูด้วยมือเปล่า การประกอบอาหาร และการกินเนื้อหมูแบบสุกๆ ดิบๆ ร่วมกับการดื่มสุราชาวบ้านมาโรงพยาบาลด้วยเยื่อหุ้มสมองอักเสบ 7 คน ติดเชื้อในกระแสโลหิต 1 คน และข้ออักเสบ 1 คน มีภาวะแทรกซ้อน คือ หูหนวกถาวร เดินเซ บางคนถูกสังคมรอบข้างล้อเลียน เรียกอีหูหนวก บางคนต้องออกจากงาน ชาวบ้านอธิบายการเจ็บป่วยของตน ว่าเป็นเวรกรรม และเป็นเพราะพวกเขาจน การศึกษานี้ เปิดเผยให้เห็นวัฒนธรรมซุกซ่อนความจริงบางอย่างไว้ ความเปราะบางได้นำพาชาวบ้านไปสู่การเจ็บป่วยเกิดความทุกข์ทรมานและ ความทุกข์ทรมานนั้นกลับไปเป็นภาวะเปราะบางสำหรับชาวบ้านอีก
โรคหูดับเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เป็นโรคติดเชื้อจากสัตว์สู่คน มีความรุนแรงจนทำให้ถึงกับ เสียชีวิตและเกิดความภาวะแทรกซ้อนคือ หูหนวก การศึกษาครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงภาวะเปราะบางด้านสังคมและวัฒนธรรม ที่ส่งผลต่อการเกิดโรคหูดับ และเพื่อศึกษาประสบการณ์การเจ็บป่วยของชาวบ้านที่ติดเชื้อโรคหูดับ ทำการศึกษาในหนึ่งตำบล ในจังหวัดแห่งหนึ่งในภาคอีสาน ระหว่างสิงหาคม 2557 ถึง มิถุนายน 2558 ใช้วิธีการศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณา ผลการศึกษา มีชาวบ้านที่ป่วยทั้งหมด 9 คนเป็นผู้ชาย 6 คน มีอายุระหว่าง 34 ปี ถึง 69 ปี จบการศึกษาในระดับประถม 8 คน มีอาชีพทำนามีชาวบ้าน ชาวบ้านที่ป่วยทุกคนบอกว่าตัวเองเป็นคนจนผู้หญิงที่ต้องทำหน้าที่ภรรยา แม่ และเป็นผู้ดูแลทำให้ผู้หญิงมีความเปราะบางมากกว่าผู้ชาย ขณะที่ผู้ชายมีแนวคิดของความเป็นชายที่ทำให้ใช้ชีวิตอยู่บนความคึกคะนอง ในเรื่องเพศวิถี มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคและการบาดเจ็บ ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ใช้การดื่มสุราเพื่อความสนุก สร้างกลุ่มเพื่อน ลดความอาย สร้างความกล้า รวมทั้งเพื่อเป็นการระบายความทุกข์ ความเชื่อเรื่องอาหารแสดงถึงปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีนัยถึงความเป็นหญิงชายและตำแหน่งแห่งที่ในสังคม ชาวบ้านข้องเกี่ยวกับหมูอยู่สามรูปแบบ คือ การฆ่าชำแหละหมูด้วยมือเปล่า การประกอบอาหาร และการกินเนื้อหมูแบบสุกๆ ดิบๆ ร่วมกับการดื่มสุราชาวบ้านมาโรงพยาบาลด้วยเยื่อหุ้มสมองอักเสบ 7 คน ติดเชื้อในกระแสโลหิต 1 คน และข้ออักเสบ 1 คน มีภาวะแทรกซ้อน คือ หูหนวกถาวร เดินเซ บางคนถูกสังคมรอบข้างล้อเลียน เรียกอีหูหนวก บางคนต้องออกจากงาน ชาวบ้านอธิบายการเจ็บป่วยของตน ว่าเป็นเวรกรรม และเป็นเพราะพวกเขาจน การศึกษานี้ เปิดเผยให้เห็นวัฒนธรรมซุกซ่อนความจริงบางอย่างไว้ ความเปราะบางได้นำพาชาวบ้านไปสู่การเจ็บป่วยเกิดความทุกข์ทรมานและ ความทุกข์ทรมานนั้นกลับไปเป็นภาวะเปราะบางสำหรับชาวบ้านอีก
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Medical and Health Social Sciences
Degree Grantor(s)
Mahidol University