Skip to main content
English
ไทย
Log In
Log in
New user? Click here to register.
Have you forgotten your password?
Communities & Collections
All of Mahidol IR
Mahidol Journals
Statistics
About Us
Customer Feedback
Deposit
Home
Faculty and Staff Publications
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
SI-Proceeding Document
การศึกษาประโยชน์ของการตัดชิ้นส่วนรองเท้ามาทำการทดสอบผื่นแพ้สัมผัสโดยการปิดแผ่นทดสอบบนผิวหนังในผู้ป่วยที่สงสัยโรคผื่นแพ้สัมผัสจากรองเท้า
Files
si-pc-waranya-2564.pdf
(1.04 MB)
Issued Date
2564
Resource Type
Proceeding Abstract
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
กองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล
Suggested Citation
APA
IEEE
MLA
Chicago
Vancouver
วรัญญา บุญชัย, ศุภิสรา วงษ์ดามา, ธิตินันท์ กำแพงสิน, มณฑาทิพย์ บุญยะวารี, ชุติพนต์ พฤกษาเอกอนันต์, ชญาดา ชัยบุตร
(2564).
การศึกษาประโยชน์ของการตัดชิ้นส่วนรองเท้ามาทำการทดสอบผื่นแพ้สัมผัสโดยการปิดแผ่นทดสอบบนผิวหนังในผู้ป่วยที่สงสัยโรคผื่นแพ้สัมผัสจากรองเท้า.
สืบค้นจาก:
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79524
Title
การศึกษาประโยชน์ของการตัดชิ้นส่วนรองเท้ามาทำการทดสอบผื่นแพ้สัมผัสโดยการปิดแผ่นทดสอบบนผิวหนังในผู้ป่วยที่สงสัยโรคผื่นแพ้สัมผัสจากรองเท้า
Author(s)
วรัญญา บุญชัย
ศุภิสรา วงษ์ดามา
ธิตินันท์ กำแพงสิน
มณฑาทิพย์ บุญยะวารี
ชุติพนต์ พฤกษาเอกอนันต์
ชญาดา ชัยบุตร
Other Contributor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาตจวิทยา
Abstract
งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาประโยชน์ของการตัดชิ้นส่วน รองเท้ามาทำการทดสอบผื่นแพ้สัมผัส โดยการปิดแผ่นทดสอบบนผิวหนัง ด้วย การเปรียบเทียบผลบวกที่ได้จากการทดสอบชิ้นส่วนรองเท้าของผู้ป่วยและชุด สารทดสอบมาตรฐาน โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่สงสัยโรคผื่นแพ้สัมผัส จากรองเท้าและได้รับการทดสอบผื่นแพ้สัมผัส โดยการปิดแผ่นทดสอบบน ผิวหนังด้วยชุดสารทดสอบมาตรฐานและชิ้นส่วนรองเท้า ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543- 2562 ผลการศึกษาพบว่า จากจำนวนผู้ป่วยผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรค ผื่นแพ้สัมผัสจากรองเท้า 77 ราย มีผู้ป่วยจำนวน 48 ราย (62.3%) มีผลบวก จากการทดสอบด้วยชุดทดสอบมาตรฐาน 53 ราย (68.8%) มีผลบวกจาก ชิ้นส่วนรองเท้า และผู้ป่วยจำนวน 29 ราย (37.7%) มีผลบวกจากชิ้นส่วน รองเท้าเพียงอย่างเดียว ไม่มีผลบวกจากชุดทดสอบมาตรฐาน ดังนั้นการ ทดสอบด้วยชิ้นส่วนรองเท้านี้สามารถช่วยเพิ่มโอกาสในการวินิจฉัยโรคผื่นแพ้ สัมผัสจากรองเท้าได้ถึง ร้อยละ 37.7 การทดสอบด้วยชิ้นส่วนรองเท้าจึงอาจ ช่วยทดแทนการทดสอบสารก่อภูมิแพ้ที่ไม่รู้จักหรือไม่ได้อยู่ในชุดทดสอบ มาตรฐานได้
Description
ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 104
Keyword(s)
ทดสอบผื่นแพ้สัมผัส
โรคผื่น
โรคผื่นแพ้สัมผัสจากรองเท้า
Patch testing
Mahidol Quality Fair
Availability
URI
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79524
Collections
SI-Proceeding Document
Full item page
Send Feedback