Teratogenic test of steviol in the hamster

dc.contributor.advisorChaivat Toskulkao
dc.contributor.advisorPawinee Piyachaturawat
dc.contributor.advisorPunya Temcharoen
dc.contributor.advisorPisut Mungkornkarn
dc.contributor.authorChanchira Wasuntarawat
dc.date.accessioned2024-09-04T03:11:44Z
dc.date.available2024-09-04T03:11:44Z
dc.date.copyright1995
dc.date.created1995
dc.date.issued2024
dc.descriptionPhysiology (Mahidol University 1995)
dc.description.abstractThis study aimed to investigate the teratogenicity of steviol which is a major metabolite of stevioside, a sweetening agent. Groups of 12-20 pregnant Syrian golden hamsters were treated daily with 0, 250, 500, 750 and 1000 mg steviol/kg BW/day in corn oil by oral intubation from day 6 to day 10 of gestation and were sacrificed on day 14. A positive control group received 600 mg/kg BW/day of retinol palmitate (all trans) in a similar manner of treatment. Steviol at doses of 750 and 1000 mg/kg BW/day were highly toxic to both dams and fetuses. Significantly decreased of maternal body-weight gain during treatment period (days 6-14) and high percentage of maternal mortality indicated the general toxicity of these two high doses to maternal. Number of live fetus/litter and mean fetal weight also significantly decreased in the steviol-treated at doses of 750 and 1000 mg/kg BW day. The animal treated with intermediate dose (500 mg/kg BW/day) exhibited less signs of maternal toxic and embryotoxic than those two high doses. One craniomeningocele was found in a fetus under the maternal toxic condition in steviol-treated at-a dose of 750 mg/kg BW/day. Neither the skeleton nor visceral of the offspring was affected by steviol treatment. No dose-related teratogenesis was detected either. From the result of the present study concerning about maternal toxic condition and embryotoxicity, an oral dose of 250 mg steviol/kg BW/day is regarded as a no observable effect dose. This steviol-treated dose is approximately derived from stevioside 625 mg/kg BW/day which is approximately 80 times higher than the suggested acceptable daily intake of stevioside for human (7.938 mg/kg BW/day).
dc.description.abstractในการศึกษาฤทธิ์ก่อลูกวิรูปของสารสตีวิออลซึ่งเป็น สารเมตาบอไลท์ของสารหวานสตีวิโอไซด์จากหญ้าหวาน หนู แฮมสเตอร์พันธุ์ Syrian ที่ตั้งท้องจำนวนกลุ่มละ 12 ถึง 20 ตัวได้รับสตีวิออลในน้ำมันข้าวโพด ขนาดปริมาณ 0 250 500 750 และ 1000 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ทาง ปากทุกวันจากวันที่ 6 ถึง 10 ของการตั้งครรภ์และทำการ ผ่าท้องในวันที่ 14 ของการตั้งครรภ์ กลุ่มควบคุมที่กำหนดให้ มีความผิดปกติของตัวอ่อนได้รับเรตินอล ปาลมิเตตประเภท ทรานส์ ขนาด 600 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ผลการศึกษาพบว่า สตีวิออลขนาด 750 และ 1000 มิลลิกรัม/ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ก่อให้เกิดภาวะเป็นพิษในแม่และ ตัวอ่อนอย่างรุนแรงโดยทำให้น้ำหนักตัวในวันที่ 6 ถึง 14 ของแม่หนูลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ร้อยละของการตาย ของแม่หนูเพิ่มขึ้น ส่วนจำนวนลูกที่มีชีวิตต่อครอกและน้ำหนัก เฉลี่ยของตัวอ่อนลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มสัตว์ ทดลองที่ได้รับสตีวิออลขนาดปานกลาง (500 มิลลิกรัม/ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน) มีภาวะเป็นพิษของแม่และ ตัวอ่อนน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับสตีวิออลระดับสูงสองกลุ่มหลัง จากการตรวจความผิดปกติของตัวอ่อนทางโครงร่างภายนอก อวัยวะภายในและโครงกระดูก ไม่พบความผิดปกติใดๆ ที่ สัมพันธ์กับระดับของการรับสารสตีวิออล ยกเว้นในกลุ่มที่ ได้รับสตีวิออลขนาด 750 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ซึ่งเป็นภาวะที่พบความเป็นพิษในแม่พบลูกที่มีเยื่อหุ้มสมอง ยื่นเป็นถุงน้ำจากศีรษะทางด้านบน 1 ตัว จากผลการทดสอบ ประกอบกับการพิจารณาถึงสภาพการปลอดภาวะความเป็นพิษ ต่อแม่และลูก การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า สตีวิออลขนาด 250 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน เป็นขนาดที่ให้ เข้าไปแล้วไม่มีผลต่อความเป็นพิษต่อแม่และตัวอ่อนหนูแฮม สเตอร์เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ระดับการรับสตีวิออล ขนาดนี้เทียบได้กับการรับสารสตีวิโอไซด์ขนาดประมาณ 625 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน ซึ่งเป็นปริมาณที่มากกว่า ปริมาณที่ยินยอมให้มีการบริโภคสตีวิโอไซด์ในคน (7.938 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน) ประมาณ 80 เท่า
dc.format.extentx, 130 leaves : ill. (some col.)
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Physiology))--Mahidol University, 1995
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/100877
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectCricetinae
dc.subjectSteviol
dc.subjectSweetening agents -- adverse effects
dc.subjectTeratogens
dc.titleTeratogenic test of steviol in the hamster
dc.title.alternativeการทดสอบฤทธิ์ก่อลูกวิรูปของสารสตีวิออลในหนูแฮมสเตอร์
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/10431974.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Science
thesis.degree.disciplinePhysiology
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files